ประวัติศาสตร์ราชาชาตินิยมในโรงเรียนไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและถกเถียงกับเนื้อหาการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ที่ใช้สอนในระดับโรงเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยอ้างอิงจากกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ผู้เขียนอาศัยการศึกษาในเชิงเอกสารเป็นหลัก อาทิ คู่มือครู หนังสือ ตำรา แผนการจัดการเรียนรู้ ใบงาน แบบฝึกหัด ข้อสอบและกิจกรรมการเรียนการสอนอื่น ๆ ตลอดจน และสื่อการสอนของครูในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา นอกจากนี้ ผู้เขียนได้สังเกตการณ์จากการลงพื้นที่โรงเรียนจำนวนหนึ่ง เพื่อสังเกตการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมจากเจ้าหน้าที่ของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในแห่งราชอาณาจักรไทย (กอ.รมน.) ผลการศึกษา ย้ำให้เห็นว่า การสอนวิชาประวัติศาสตร์ในระดับโรงเรียนต่างให้ความสำคัญและผลิตซ้ำเนื้อหาประวัติศาสตร์ราชาชาตินิยมเพียงเท่านั้น ประวัติศาสตร์ชนิดนี้มีปัญหาในตัวเองหลายประการ ที่แย่ไปกว่านั้น การศึกษาประวัติศาสตร์เช่นนี้เป็นการตอกย้ำมายาคติแห่งความไม่เท่าเทียมอย่างไม่หยุดหย่อนว่า สถานะของประชาชนควรถูกตระหนักว่าเป็นเพียงพสกนิกร มิใช่พลเมืองแต่อย่างใด
Article Details
References
ชัชวาล ปุญปัน. (2547). ข้อสงสัยการตรวจพิสูจน์ศิลาจารึกหลักที่ 1 ด้วยวิธีวิทยาศาสตร์. ศิลปวัฒนธรรม. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_6482
ณรงค์ พ่วงพิศ และ คณะ. (มปป.(ก.)). คู่มือครู อจท. ประวัติศาสตร์ ม.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.
ณรงค์ พ่วงพิศ และ คณะ. (มปป.(ข.)). คู่มือครู อจท. ประวัติศาสตร์ ม.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.
ณรงค์ พ่วงพิศ และ คณะ. (มปป.(ค.)). คู่มือครู อจท. ประวัติศาสตร์ ม.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.
ณรงค์ พ่วงพิศ และ คณะ. (มปป.(ง.)). คู่มือครู อจท. ประวัติศาสตร์ ม.4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.
ณรงค์ พ่วงพิศ และ วุฒิชัย มูลศิลป์. (2561). คู่มือครูสำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์ วิชาประวัติศาสตร์ไทย ม.4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.
ธงชัย วินิจจะกูล. (2544). ประวัติศาสตร์ไทยแบบราชาชาตินิยม: จากยุคอาณานิคมอำพราง สู่ราชาชาตินิยมใหม่หรือลัทธิเสด็จพ่อของกระฎุมพีไทยในปัจจุบัน. นิตยสารศิลปวัฒนธรรม. (พฤศจิกายน).
ธงชัย วินิจจะกูล. (2546). ภาวะอย่างไรหนอที่เรียกว่าศิวิไลซ์ เมื่อชนชั้นนำสยามสมัยรัชกาลที่ 5 แสวงหาสถานะของตนเอง ผ่านการเดินทางและพิพิธภัณฑ์ทั้งในและนอกประเทศ. รัฐศาสตร์สาร, 24(2),1-66.
ธงชัย วินิจจะกูล. (พวงทอง ภวัครพันธุ์ และคณะ แปล). (2556). กำเนิดสยามจากแผนที่ ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ. กรุงเทพ ฯ: สำนักพิมพ์อ่านและสำนักพิมพ์คบไฟ.
ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. (2562, 1 พฤศจิกายน). เสียดินแดน 14 ครั้ง วาทกรรมเฟคนิวส์ที่เพิ่งสร้างใน Google. โลกวันนี้. สืบค้นจาก ttp://www.lokwannee.com/web2013/?p=380974 ฯลฯ
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2547). ชาติไทยเมืองไทยแบบเรียนและอนุสาวรีย์ ว่าด้วยวัฒนธรรม รัฐ และรูปการจิตสำนึก. กรุงเทพ ฯ: งานดี.
นิพัทธ์ แย้มเดช. (2561). ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง: กรณีศึกษาปรากฏการณ์วิวาทะหลายกระแสและการสถาปนาให้เป็นสัญลักษณ์ของรัฐชาติ. รัฐศาสตร์สาร, 39(1), 1-88.
แนวหน้า. (2563, 5 กุมภาพันธ์). ศธ.แจ้งทุกสถานศึกษา เดินหน้าสอน‘ประวัติศาสตร์ชาติไทย’ตั้งแต่ประถม-มัธยม. แนวหน้า. สืบค้นจาก https://www.naewna.com/local/470939
บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด. (มปป.). แผนการจัดการเรียนการสอน วิชาประวัติศาสตร์ชั้นมัธยม 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551. กรุงเทพ ฯ: บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด.
ปกป้อง จันวิทย์. (2560, 23 สิงหาคม). คำต่อคำ 101 One-On-One | Ep01 “อ่านการเมืองไทย” กับ ประจักษ์ ก้องกีรติ. The101.world. สืบค้นจาก https://www.the101.world/101-one-on-one-ep01-prajak/
ประชาไท. (2562, 26 กรกฎาคม). ถอดรื้อแบบเรียนประวัติศาสตร์ไทย กำกับด้วยความรัก-กลัว
ความมั่นคงของชาติ. ประชาไท. สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2019/07/83588
ปฤณ เทพนรินทร์. (2560). โปรดระวังข้อจำกัดเชิงโครงสร้าง: อันตรายของลักษณะรัฐราชสมบัติ (patrimonial) ทางการเมือง และผลกระทบต่อการสร้างพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย. วารสารสิทธิและสันติศึกษา, 3 (1), 67-108
แผนจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ชั้น ม.3 (มปป.). หัวข้อ พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.
มติชน. (2562, 28 ธันวาคม). เดินตามปู่ สู้ ‘เฟคนิวส์’ ขรรค์ชัย-สุจิตต์ สแกนตำรา สังคายนาประวัติศาสตร์ไทย สู่ปีที่ 4 ‘ทอดน่องท่องเที่ยว’. มติชน. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/prachachuen/prachachuen-scoop/news_1849697
มติชน. (2563, 14 กุมภาพันธ์). ชงนายกฯ ตั้งกก.สร้างหนังสงครามรักชาติ ชูไทยในสงครามโลกถึงสมรภูมิบ้านร่มเกล้า. มติชน. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/education/ religious-cultural/news_1973087
ลักขณา ปันวิชัย. (2542). อุดมการณ์รัฐของรัฐไทยในแบบเรียนชั้นประถมศึกษา พ.ศ.2464-2533 ไม่มีชาติของประชาชนในแบบเรียน. รัฐศาสตร์สาร, 21(3), 105-173.
สายพิน แก้วงามประเสริฐ. (2538). การเมืองในอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี. กรุงเทพ ฯ: มติชน.
สุคนธ์ สินธพานนท์ และ คณะ. (มปป. (ก.)). แผนการจัดการเรียนการสอน สื่อฯ แม่บทมาตรฐาน ประวัติศาสตร์ ชั้น ป.2 แผนฯ มมฐ., สมฐ. ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551. กรุงเทพ ฯ: สำนักอักษรเจริญทัศน์.
_____. (มปป. (ข.)).แผนการจัดการเรียนการสอน สื่อฯ แม่บทมาตรฐาน ประวัติศาสตร์ ชั้น ป.3 แผนฯ มมฐ., สมฐ. ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551. กรุงเทพ ฯ: สำนักอักษรเจริญทัศน์.
_____. (มปป. (ค.)).แผนการจัดการเรียนการสอน สื่อฯ แม่บทมาตรฐาน ประวัติศาสตร์ ชั้น ป.4 แผนฯ มมฐ., สมฐ. ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551. กรุงเทพ ฯ: สำนักอักษรเจริญทัศน์.
_____. (มปป. (ง.)).แผนการจัดการเรียนการสอน สื่อฯ แม่บทมาตรฐานประวัติศาสตร์ ชั้น ป.5 แผนฯ มมฐ., สมฐ. ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551. กรุงเทพ ฯ: สำนักอักษรเจริญทัศน์.
_____. (มปป. (จ.)).แผนการจัดการเรียนการสอน สื่อฯ แม่บทมาตรฐาน ประวัติศาสตร์ ชั้น ป.6 แผนฯ มมฐ., สมฐ. ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551. กรุงเทพ ฯ: สำนักอักษรเจริญทัศน์.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2562). สุโขทัยไม่ใช่ราชธานีแห่งแรก. ศิลปวัฒนธรรม. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_29827
สุดาวรรณ เครือพานิช, ร้อยโทหญิง. (2558). การดำเนินงานพัฒนาการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิชาการ, 18(4), 16-37.
สุรพศ ทวีศักดิ์. (2560). คดี ส. ศิวรักษ์หมิ่นพระนเรศวรบอกอะไร. ประชาไท. สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2017/10/73656
สุเนตร ชุตินธรานนท์ และ คณะ. (2552).ชาตินิยมในแบบเรียนไทย. กรุงเทพ ฯ: มติชน.
สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด. (มปป. (ก.)). แบบทดสอบท้ายบทเรียน สังคมศึกษา ป.5 หน่วยการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551.กรุงเทพ ฯ: สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด.
_____. (มปป. (ข.)). แบบทดสอบท้ายบทเรียน สังคมศึกษา ป.5 หน่วยการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551.กรุงเทพ ฯ: สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด.
_____. (มปป. (ค.)). แบบทดสอบท้ายบทเรียน สังคมศึกษา ป.6 หน่วยการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551.กรุงเทพ ฯ: สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. (2558). การสอนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ไทย หลายหลายวิธีเรียน. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (มปป.(ก.)). สาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์.
_____. (มปป.(ข.)). สาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์.
____. (มปป.(ค.)). สาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์.
แอนเดอร์สัน, เบเนดิก. (ชาญวิทย์ เกษตรศิริและคณะ แปล). (2552). ชุมชนจินตกรรม: บทสะท้อนว่าด้วยกำเนิดและการแพร่ขยายของชาตินิยม. กรุงเทพ ฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์.
อำนวย พุทธมี อำนวย พุทธมี, ประโมทย์ เยี่ยมสวัสดิ์, วัลภา สิงหธรรมสาร และทัศนา สิขัณฑกสมิต. (2560ก). สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2551 ฉบับปรับปรุงใหม่ เนื้อหาเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ตามหนังสือที่ ศธ 04010/ว 4248. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น.
อำนวย พุทธมี อำนวย พุทธมี, ประโมทย์ เยี่ยมสวัสดิ์, วัลภา สิงหธรรมสาร และทัศนา สิขัณฑกสมิต. (2560ข). สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น.
Garratt, D. & Piper, H. (2003). Citizenship Education and the Monarchy: Examining the Contradictions. British Journal of Educational Studies, 51(2), 128-148.
Sombatpoonsiri, J. (2017). The 2014 military coup in Thailand: Implications for political conflicts and resolution. Asian Journal of Peacebuilding, 5(1), 131–154.
Terwiel, B.J. (2013). What Happened at Nong Sarai? Comparing Indigenous and European Sources for Late 16th Century Siam. Journal of the Siam Society, 101, 19-34.
The Potential. (2562, 19 พฤศจิกายน). TEDXYOUTH 2019 #NOW PLAYING: ตัวแทนเสียงเด็กไทยที่ไม่ถูก PAUSE. The Potential. สืบค้นจาก https://thepotential.org/2019/ 11/19/tedxyouth-2019-scoop/