การพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการร่วมกับการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานเกี่ยวกับการจัดทำวิทยานิพนธ์สำหรับบัณฑิตศึกษา
Keywords:
ระบบบริหารจัดการเรียนรู้, การเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ, การเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐาน, วิทยานิพนธ์Abstract
การจัดทำวิทยานิพนธ์เป็นประเด็นสำคัญในการเรียนรู้ในระดับบัณฑิตศึกษา วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ 1) เพื่อออกแบบและสร้าง ทดสอบ ทดลองใช้ และประเมินต้นแบบระบบบริหารจัดการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการร่วมกับการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานสำหรับการจัดทำวิทยานิพนธ์ และ 2) เพื่อนำเสนอระบบบริหารจัดการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการร่วมกับการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานสำหรับการจัดทำวิทยานิพนธ์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาโดยมีวิธีดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ปีการศึกษา 2564-2565 จำนวน 36 คน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยแสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นการวิเคราะห์แก่นสาระ
ผลการวิจัยพบว่า 1) ต้นแบบระบบบริหารจัดการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการร่วมกับการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานสำหรับการจัดทำวิทยานิพนธ์ใช้กระบวนการพัฒนาแบบ DBLC ผู้เชี่ยวชาญเห็นว่าระบบมีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้ประกอบการเรียนการสอนได้จริง การทดลองใช้ระบบเป็นการเรียนรู้ควบคู่ไปกับเทคโนโลยีโดยมีการใช้งานที่ไม่ยุ่งยาก และนักศึกษามีความพึงพอใจในระบบต้นแบบที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมาก 2) ระบบนี้มีโครงสร้างที่ประกอบด้วยเว็บไซต์ ฐานข้อมูลอาจารย์และนักศึกษา บันทึกความรู้ แบบประเมินความรู้ กระดานสนทนา คลังความรู้ ดาวน์โหลดเอกสาร กรณีศึกษา และภาพกิจกรรมต่าง ๆ ผลการวิจัยสามารถนำไปใช้เป็นต้นแบบสำหรับการทำวิทยานิพนธ์สำหรับบัณฑิตศึกษาต่อไป
References
กัลยา สร้อยสิงห์. (2564). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐานที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาทางด้านอุตสาหกรรมบริการ. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 15(2), 381-396.
ดรุณี ปัญจรัตนากร และพงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. (2563). การพัฒนาแพลตฟอร์มระบบบริหารจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและนวัตกรรมการบริหารการศึกษา. ใน การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรรสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ สสอท. ประจำปี 2563, 1-2 กุมภาพันธ์ 2563. 817- 828.
ปัณฑ์ชณิช เพ่งผล และพงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. (2564). การพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์ลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 30(2), 25-41.
พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. (2553). ระบบไอซีทีและการจัดการยุคใหม่. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ Witty
พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ, สุริยะ วชิรวงศ์ไพศาล และดรุณี ปัญจรัตนากร. (2564). การพัฒนาแพลตฟอร์มการจัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้แนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เกี่ยวกับระบบไอซีทีและนวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษาสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา. วารสารการศึกษาและนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 1(3), 219-237.
Ahel, O., & Schirmer, M. (2022). Education for Sustainable Development through Research-Based Learning in an Online Environment. International Journal of Sustainability in Higher Education, 11(1), 112-128
Carlgren, I. (2012). The Learning Study as an Approach for “Clinical” Subject Matter Didactic Research. International Journal for Lesson and Learning Studies, 1(2), 126-139.
Chakraborty, D., & Biswas, W. (2020). Motivating Factors in a Teacher’s Research and Developmental Activities and their Impact on Effective Quality Teaching in Higher Education Institutions. Journal of Applied Research in Higher Education, 12(4), 609-632.
Daultani, Y., Goswami, M., Kumar, A.,& Pratap, S. (2021). Perceived Outcomes of e-learning: Identifying Key Attributes Affecting User Satisfaction in Higher Education Institutes. Measuring Business Excellence, 25(2), 216-229.
Davenport, T., & Michelman, P. (2018). Management on the Cutting Edge. The MIT Press, 3-10.
Demir, A., Maroof, L., Sabbah Khan, N.U., & Ali, B.J. (2021). The Role of E-service Quality in Shaping Online Meeting Platforms: a Case Study from Higher Education Sector. Journal of Applied Research in Higher Education, 13(5), 1436-1463.
Dennerlein, S.M., Tomberg, V., Treasure-Jones, T., Theiler, D., Lindstaedt, S., & Ley, T. (2020). Co-designing Tools for Workplace Learning: A Method for Analysing and Tracing the Appropriation of Affordances in Design-based Research. Information and Learning Sciences, 121(3/4), 175-20
Hunaiti, Z., Grimaldi, S., Goven, D., Mootanah, R., & Martin, L. (2010). Principles of Assessment for Project and Research Based Learning. International Journal of Educational Management, 24(3), 189-203.
Ismaili, Y. (2021). Evaluation of Students’ Attitude Toward Distance Learning During the Pandemic (Covid-19): a Case Study of ELTE University. On the Horizon, 29(1), 17-30.
Jang, C.S., Lim, D.H., You, J., & Cho, S. (2022). Brain-Based Learning Research for Adult Education and Human Resource Development. European Journal of Training and Development, 46(5/6), 627-651.
Jayatilleke, B.G., Ranawaka, G.R., Wijesekera, C., & Kumarasinha, M.C.B. (2018). Development of Mobile Application through Design-based Research. Asian Association of Open Universities Journal, 13(2), 145-168
Kant, N., Prasad, K.D., & Anjali, K. (2021). Selecting an Appropriate Learning Management System in Open and Distance Learning: a Strategic Approach. Asian Association of Open Universities Journal, 16(1), 79-97.
Laudon, K.C., & Laudon, J.P. (2018). Management Information Systems. 14th Edition. Pearson Education Indochina.
Lyapina, I., Sotnikova, E., Lebedeva, O., Makarova, T., & Skvortsova, N. (2019). Smart Technologies: Perspectives of Usage in Higher Education. International Journal of Educational Management, 33(3), 454-461.
Maslov, I., Nikou, S., & Hansen, P. (2021). Exploring User Experience of Learning Management System. International Journal of Information and Learning Technology, 38(4), 344-363.
Phakamach, P., Senarith, P., & Wachirawongpaisarn, S. (2022). The Metaverse in Education: The Future of Immersive Teaching & Learning. RICE Journal of Creative Entrepreneurship and Management, 3(2), 75-88.
Rieg, D.L., Lima, R.M.M., Mesquita, D., Scramim, F.C.L., & Mattasoglio Neto, O. (2022). Active Learning Strategies to Develop Research Competences in Engineering Education. Journal of Applied Research in Higher Education, 14(3), 1210-1223.
Singh, A., Sharma, S., & Paliwal, M. (2021). Adoption Intention and Effectiveness of Digital Collaboration Platforms for Online Learning: the Indian Students’ Perspective. Interactive Technology and Smart Education, 18(4), 493-514.
Sinlarat, P. (2020). The Path to Excellence in Thai Education. RICE Journal of Creative Entrepreneurship and Management, 1(2), 60-75.
Strachan, S.M., Marshall, S., Murray, P., Coyle, E.J., & Sonnenberg-Klein, J. (2019). Using Vertically Integrated Projects to Embed Research-Based Education for Sustainable Development in Undergraduate Curricula. International Journal of Sustainability in Higher Education, 20(8), 1313-1328.
Tam, S. (2022). Humor and Learning Styles: Toward a Deeper Understanding of Learning Effectiveness in the Virtual Environment. Qualitative Research Journal, 22(2), 143-156.
Trivedi, S.K., Patra, P., & Singh, S. (2022). A study on Intention to Use Social Media in Higher Education: the Mediating Effect of Peer Influence. Global Knowledge, Memory and Communication, 71(1/2), 52-69.
Yadav, R., Tiruwa, A., & Suri, P.K. (2017). Internet Based Learning (IBL) in Higher Education: a Literature Review. Journal of International Education in Business, 10(2), 102-129.
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2022 วารสารบริการวิชาการสถาบันอุดมศึกษาไทยรับใช้สังคม : Journal of Knowledge Exchange
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.