บทบาทครูในการสร้างการเรียนรู้ตามแนวทางพุทธจิตวิทยาสู่การเปลี่ยนแปลง
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้สะท้อนให้เห็นว่า ครูมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนทั้งด้านวิชาการและคุณธรรม จริยธรรม โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงและเป็นผู้นำทางสังคม ครูจึงต้องมีความรู้ความสามารถรอบด้าน มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ และสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย การสร้างการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงตามแนวพุทธจิตวิทยา เป็นการนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา อริยมรรค 8 และอิทธิบาท 4 มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน ซึ่งเน้นการพัฒนาสติปัญญาและคุณธรรมจริยธรรมควบคู่กันไป เกิดองค์ความรู้ใหม่ที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจในตนเองและผู้อื่นมากขึ้น สามารถนำไปสู่การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องแบบองค์รวม พัฒนาทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีจิตใจที่เข้มแข็ง เข้าใจธรรมชาติและความเป็นจริงของชีวิต เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และมีความสุขในการใช้ชีวิต บทความนี้ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของบทบาทครูในการสร้างการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและสังคม ที่เน้นการอบรมศีล สมาธิ และปัญญา อันนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเปลี่ยนแปลงทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคมอย่างยั่งยืน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
เอกสารอ้างอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. (ม.ป.ป.). การเรียนอย่างมีประสิทธิภาพด้วยอิทธิบาท 4. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2567, จาก https://www.moe.go.th/การเรียนอย่างมีประสิทธ-2/.
จินดารัตน์ โพธิ์นอก. (24 เมษยายน 2557). การศึกษาแบบองค์รวม. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2567, จาก http://legacy.orst.go.th /?knowledges=การศึกษาแบบองค์รวม-๒๔-เม.
จักรกฤษณ์ สิริริน. (20 พฤษภาคม 2562). นวังคสัตถุศาสน์. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2567, จากhttps://www.salika. co/2019/05/20/buddhist-era-teaching/.
จักรแก้ว นามเมือง. (ม.ป.ป.). พุทธจิตวิทยากับการเรียนรู้. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2567, จากhttps://www. gotoknow.org/ posts/ 436750.
เฉลียว ปิยะชน. (2566). หลอดเลือดแข็งตีบตันป้องกันได้. กรุงเทพฯ: บุ๊ค ไทม์ จำกัด.
ธีรศักดิ์ อัครบวร. (2542). ความเป็นครู. ภูเก็ต : สถาบันราชภัฏภูเก็ต.
พรทิพย์ เกศตระกูล, สิริวัฒน์ศรีเครือดง, กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2565). พุทธจิตวิทยาเพื่อพลังใจวัยรุ่น, วารสารพุทธจิตวิทยา, 7(2), 79-88.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ยุตโต). (2540). การพัฒนาจริยธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พุทธธรรม.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). “พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์”. พิมพ์ครั้งที่ ๙. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (ม.ป.ป.). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2567, จาก https://84000.org/ tipitaka/dic/d_item.php?i=161.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (ม.ป.ป.). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2567, จาก https://84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=265.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (ม.ป.ป.). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2567, จาก https://84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=293.
พระมหาอภิพงค์ ภูริวฑฺฒโน (คำหงษา), พระมหาโยธิน มหาวีโร (มาศสุข), พระครูสมุห์หัตถพร คำเพชรดี และ เขมจิรา คำหงษา, บทบาทครูในศตวรรษที่ 21 ในฐานะบุพการีของศิษย์, วารสารพุทธสังคมวิทยาปริทรรศน์. 7(3), 59-64.
พิมพ์พรรณ เทพสุเมธานนท์, นวลละออ แสงสุข, นุชนาถ สุนทรพันธุ์, (2547). จริยธรรมและจรรยาบรรณสำหรับครู. เอกสารคำสอน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พุทธทาสภิกขุ. (ม.ป.ป.). ความหมายของคุณครู. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2567, จาก https://teachermaykricy 047.wordpress. com/2012/08/25/teacher/.
ยนต์ ชุ่มจิต. (2550). ความเป็นครู. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
โรงเรียนนานาชาติเซนต์ แอนดรูว์ส ดุสิต. (ม.ม.ป.). การเรียนการสอนแบบองค์รวม Holistic Approach. สืบค้นเมื่อ 4 มกราคม 2567, จาก https://www.standrewsdusit.com/th/what-is-holistic-approach-teaching/.
วศิน อินทสระ. (2541). พุทธจริยศาสตร์. กรุงเทพฯ: ทองกวาว.
สถาบันอาศรมศิลป์. (18 เมษายน 2561). การเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม. สืบค้นเมื่อ 4 มกราคม 2567, จาก https://www.arsomsilp. ac.th/curriculum-holistic/.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (ม.ม.ป.). พุทธวิธีในการสอน. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2567, จาก https://www.watnyanaves.net/th/book-full-text/313#313-footnote-full-1.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (5 กุมภาพันธ์ 2562), เรียนรู้องค์รวม สู่การเปลี่ยนแปลงสืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2567, จาก https://www.thaihealth.or.th/?p=238044.
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (21 กุมภาพันธ์ 2553). ครู. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2567, จาก https://citly.me/S20gv.
Beyond Code Academy. (n.d.). Holistic Learning. Retrieved January 4, 2024 from https://www.Beyondcodeacademy.com/post/learning-suc