การพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะสุจริตของนักเรียน ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1

Main Article Content

วิภารัตน์ แสงแก้ว
นภาภรณ์ ธัญญา
ศิลปชัย บูรณพานิช

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะสุจริตของนักเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1 2) เพื่อทดลองใช้รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะสุจริตของนักเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1 3) เพื่อประเมินประสิทธิภาพรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะสุจริตของนักเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1 รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะสุจริต กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1 จำนวน 10 โรงเรียน นักเรียน 661 คน จากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบสอบถาม 2) แบบประเมินคุณลักษณะสุจริตของนักเรียน 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน 4) แบบการประเมิน Joint Committee on Standards for Educational Evaluation สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ t-test (Dependent) ผลการวิจัย พบว่า 1)การส่งเสริมคุณลักษณะสุจริตของนักเรียนยังขาดคุณลักษณะสุจริตทั้ง 5 ประการ ได้แก่ ทักษะกระบวนการคิด มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ 2)ผลการเปรียบเทียบคุณลักษณะสุจริตของนักเรียน หลังการทำกิจกรรม คะแนนเฉลี่ย (M=4.47, SD=0.48) สูงกว่าก่อนกิจกรรม คะแนนเฉลี่ย (M=2.49, SD=0.56) ทุกกิจกรรม และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการส่งเสริมคุณลักษณะสุจริต อยู่ในระดับมากที่สุด 3) รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะสุจริตของนักเรียน พบว่า ผลการประเมินประสิทธิภาพความสอดคล้องกับมาตรฐานการประเมิน (Joint Committee on Standards for Educational Evaluation) ทั้ง 4 ด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

How to Cite
แสงแก้ว ว., ธัญญา น., & บูรณพานิช ศ. (2024). การพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะสุจริตของนักเรียน ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1. วารสารพุทธจิตวิทยา, 9(3), 502–511. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jbp/article/view/271482
บท
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการ. (2523). การศึกษาหาเกณฑ์ปกติของระดับพัฒนาการทางจริยธรรมและจริยธรรมไทย. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

กรมวิชาการ. (2541). คำบรรยายเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมที่เน้นความมีวินัยและความเป็นประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

กรมวิชาการ. (2541). แนวทางการพัฒนาคุณลักษณะของเยาวชนในด้านจริยธรรม. กรุงเทพฯ: กรมการศาสนา.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

กำแหง จิตตมาก. (2549). การศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์แก่ผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอ่างทอง (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ชูชัย ประทุมขันธ์. (2564). รายงานผลการดำเนินการโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม

และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา (โรงเรียนสุจริต) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมถอดบทเรียน (Best Practice) ผู้บริหารสถานศึกษา “เมล็ดพันธุ์ต้นกล้าความดี”. กาฬสินธุ์: โรงเรียนเมืองกาฬสินธุ์.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2553). สถิติวิเคราะห์เพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์.

ประภาพร นาแว่น. (2556). ประสิทธิผลการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในโรงเรียนเครือข่ายคณะภคินีรักกางเขนแห่งท่าแร่ (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

พิณภรณ์ เสาพาน. (2556). การพัฒนาความซื่อสัตย์สุจริตของนักเรียน โดยใช้ชุดกิจกรรมพัฒนาความซื่อสัตย์สุจริต. บุรีรัมย์: โรงเรียนชำนิพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32.

ไพศาล วรคํา. (2559). การวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 8. มหาสารคาม: ตักสิลา.

พระครูประโชติจนั ทวิมล(นาม จนฺทโชโต). (2555). การส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมนักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวังนนทบุรี อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

รัตนะ บัวสนธ์. 2552. วิจัยเชิงคุณภาพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมี บุคส์ พับลิเคชั่น.

โรงเรียนวิสุทธิกษัตรี. (2559). การพัฒนารูปแบบกิจกรรมต้นกล้าศรีวิสุทธิ์ เพื่อพัฒนาคุณลักษณะสุจริตของนักเรียนโรงเรียนวิสุทธิกษัตรี จังหวัดสมุทรปราการ สำนักงานเขตพื้นการศึกษามัธยมศึกษา เขต 6. สมุทรปราการ: โรงเรียนวิสุทธิกษัตรี.

วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2553). การวิจัยพัฒนารูปแบบ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 2(4), 1-15.

ศิลปกร จุมพิษ. (2557). แนวทางการพัฒนาคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านประคอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

สมุทร ชำนาญ. (2546). การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนที่บริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.

สมนึก ภัททิยธนี. (2553). การวัดผลการศึกษา. มหาสารคาม: ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1. (2562). แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562. สระแก้ว: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1. (2564). แผนพัฒนาการศึกษา (ฉบับที่ 5) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2565 (ปรับปรุงครั้งที่ 4 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564). สระแก้ว: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). ยุทธศาสตรชาติ พุทธศักราช 2561-2580. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ.

สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). กระบวนการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมเด็กปฐมวัย.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักนโยบายและแผน. (2550). คู่มือการติดตามและประเมินผล. กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายและแผน.

สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา. (2559). การพัฒนาการสอนสร้างสรรค์กิจกรรมเพิ่มเวลารู้. กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา.

Bardo, J.W., & Hartman, J.J. (1982). Urban sociology: A systematic introduction. New York: F.E. Peacock.

Keeves P.J. (1988). Educational research, methodology and measurement: An international handbook. Oxford: Pergamon Press.