ลักษณะมุ่งอนาคตตามแนวพุทธจิตวิทยา

Main Article Content

โมลี สุทฺธิโมลิโพธิ
พระอนันตชัย อภินนฺโท

บทคัดย่อ

ลักษณะมุ่งอนาคตตามแนวพุทธจิตวิทยา เป็นความสามารถในการควบคุมตนเองของบุคคล ซึ่งเกิดจากความสามารถในการคาดการณ์ไกล เล็งเห็นความสำคัญของผลดีผลเสียของเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ดำเนินการวางแผนปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม ไม่ฝ่าฝืนกฎหมายและกฎเกณฑ์ศาสนา เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม มุ่งพัฒนาตนให้มีลักษณะมุ่งอนาคตถึงระดับสูงสุด คือความสุขอันยอดเยี่ยมอย่างแท้จริงอย่าง “นิพพาน” ได้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จรรจา สุวรรณทัต. (2531). ลักษณะมุ่งอนาคต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน และคณะ. (2550). ความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนาของคนไท: การปลูกฝังอบรมและคุณภาพชีวิต (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2543). ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม: การวิจัยและการพัฒนาบุคคล. กรุงเทพฯ: โครงการส่งเสริมเอกสารวิชาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.

ปัญญานันโท. (2551). พระพุทธะกับวิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: ฟรีมายด์.

พระมหาไชยา กาละปักษ์. (2550). ปัจจัยเชิงเหตุแบบบูรณาการของบ้าน สถานศึกษา สื่อ และจิตลักษณะที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุภาพบุรุษของนักเรียนอาชีวศึกษา (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

พระมหาแสวง โชติปาโล. (2531). บุญกิริยาวัตถุ 10 ประการ ถอดความจากคัมภีร์อภิธัมมัตถะสังคหะและคัมภีร์อภิธัมมัตถะวิภาวินี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิแนบมหาธีรานท์.

รังสรรค์ หังสนาวิน. (2549). ลักษณะทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับการทำงานอย่างมุ่งผลสัมฤทธิ์ของพัฒนาการ (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

Walter Mischel. (1974). Self-control Introduction to personality. third edition. Holt- Rinebart and Winston Inc.