Feasibility Study to Promote the Operation of the Provincial Cultural Office By applying Augmented Reality (AR) Technology
Main Article Content
Abstract
This paper presents the possibility of applying augmented reality (AR) technology in the operations of the provincial cultural office as primary data for other researchers to use as a reference paper for research in the next step. The paper aims to disseminate knowledge to the interested person. The contents consist of AR, the application of AR in arts, religion, culture, tourism, learning, public relations, and consumer access to AR technology. Including proposing the concept of using AR in the operation of the Nakhon Si Thammarat Provincial Cultural Office.
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์จะเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการสังคมมนุษย์
References
กวิน งามจินดาวงศ์. (2560). การออกแบบระบบนำเสนอข้อมูลโบราณสถานด้วยเทคโนโลยีที่ผสานโลกจริงเข้ากับโลกเสมือนผ่านแบบจำลองกายภาพ: กรณีศึกษา โบราณสถานปราสาทเขาโล้น จังหวัดสระแก้ว สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาสถาปัตยกรรมคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
คมกฤช จิระบุตร และคณะ. (2560). การสร้างสื่อแผนที่ท่องเที่ยวโดยการใช้เทคโนโลยี Augmented Reality เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย. ในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงาน สืบเนื่องการประชุมสัมมนาวิชาการ (Proceedings) การนำ เสนอผลงานวิจัย ระดับชาติเครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17.
จิรากร เฉลิมดิษฐ์, นวรัตน์ วิทยาคม และณมน จีรังสุวรรณ (2561). ความท้าทายในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมกับการศึกษายุค 4.0. Journal of Education Naresuan University Vol.20 No.2 April - June 2018 pp 266-279
ณกฤช รัตนวงศา และคณะ. (2563). แผนที่ท่องเที่ยวแบบความจริงเสมือน กรณีศึกษาอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารสาระคาม, 11(1), 33 - 44.
ทรงสิริ วิชิรานนท และคณะ. (2562). การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีเสมือนจริงส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีชุมชนคูบัวจังหวัดราชบุรี. งานประชุมวิชาการระดับชาติด้านการท่องเที่ยวกับมนุษยศาสตร์ ครั้งที่ 1 วันที่ 19-20 ธันวาคม 2562. การท่องเที่ยวกับมนุษยศาสตร์: การท่องเที่ยวในยุคเปลี่ยนผ่าน. หน้า 733 – 746.
นิติศักดิ์ เจริญรูป. 2560. การประยุกต์ใช้ความเป็นจริงเสริมเพื่อนําเสนอข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว: กรณีศึกษาวัดพระแก้ว จังหวัดเชียงราย. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่. ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2560 หน้าที่ 13-30
บุญชู บุญลิขิตศิร. (2561). การออกแบบสื่อความเป็นจริงเสริมหอศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออก. วารสารสารสนเทศศาสตร์ ปีที่ 36 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม - กันยายน 2561) หน้า 19 – 41.
ปรีดา สามงามยา, สุพัตรา ศรีสุวรรณ. (2563). การพัฒนาสื่อเทคโนโลยีอัจฉริยะเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมของฐานเรียนรู้ชุมชนบ้านท่าคอยอำเภอศรีประจันต์จังหวัดสุพรรณบุรี วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2563 หน้า 190 – 200.
พจน์ศิรินทร์ ลิมปินันทน์. (2562). การส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดมหาสารคามโดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 6(1), 8-16.
พจน์ศิรินทร์ ลิมปินันทน. (2562). การส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดมหาสารคามโดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม. ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2562. หน้า 8 – 16.
พันทิพา หนูซื่อตรง. (2561). ผลการเรียนด้วยหนังสือเรียนร่วมกับเทคโนโลยีความจริงเสริม และกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ด้วยเทคนิคจิ๊กซอว์วิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 Veridian E-Journal, Silpakorn University. ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2561 ISSN 1906 – 3431 หน้า 909 -925
สภาวิจัยแห่งชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์ Soft Power ของไทย : บทเรียนจากจีน ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้สู่การประยุกต์ใช้ของไทย”. สืบค้นจาก https://www.trf.or.th/index.php/2014-02-12-02-42-17/10526-thai-soft-power-strategy
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2562). [ออนไลน์] Augmented Reality คืออะไร.Retrieved from https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/3083-ar-technology
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2562). [ออนไลน์] ศัพท์บัญญัติส ำนักงำนรำชบัณฑิตยสภำ. Retrieved fromhttp://www.royin.go.th/coined_word/
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช. (2565). 11 สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดดีเด่น ปี 2565 แหล่งที่มา https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/59539
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช. (2566) สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช แหล่งที่มา https://nakhonsrithammarat.m-culture.go.th/th
สิทธิพร พรอุดมทรัพย์. (2013). การพัฒนาเว็บไซต์การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ด้วยความเป็นจริงเสริมและการสำรวจความพึงพอใจผู้ใช้งานกรณีศึกษา ระบบทดลองเสื้อผ้าซิ่นตีนจกเสมือนจริง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561.
สุรพงษ์ วิริยะ, อนันตทรัพย์ สุขประดิษฐ์และ รษา ทองคงอยู่. 2560. การพัฒนาเทคโนโลยีการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เสมือนจริงในจังหวัดนครสวรรค์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการการระดับชาติ. ครั้งที่ 4 สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฎกําแพงเพชร หน้าที่ 1253-1560
สุวารีย์ศรีปูณะ และคณะ. (2558). การสร้างและพัฒนาสื่อการท่องเที่ยวประเภทเว็บไซต์เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย. วารสารวิจัยสหวิทยาการไทย, 10(3), 31-37
สุวิชัย พรรษา. (2561). การพัฒนาสื่อความเป็นจริงเสริมเพื่อการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ ศิลปะแม่ไม้มวยไทย. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2561 หน้า 146-154.
อรรถศาสตร์ เวียงสงค์ และคณะ. (2553). การพัฒนาสื่อความเป็นจริงเสมือน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 29(4), 446-455.
อัครเทพ อัคคีเดช. (2563). การพัฒนาสื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมเรื่อง เครื่องดนตรีสากล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
อารญา หลวงอี่ และ เพียงฤหัย หนูสวัสดิ์ (2562). การพัฒนาเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และท่องเที่ยววนอุทยานปราณบุรี. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 4. 26 – 28 มิถุนายน 2562.
อำไพ ยงกุลวณิช. (2561). การพัฒนาเอกสารแนะนำการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบบเสมือนจริง หมู่บ้านปลาค้าว จังหวัดอำนาจเจริญ. วารสารศรีวนาลัยวิจัย, 8(2), 15-26.
อิงอร เนตรานนท์. (2563). พลังอำนาจแห่งชาติอำนาจแบบอ่อนของไทยในศตวรรษที่ 21. วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ มกราคม - เมษายน ๒๕๖๓. หน้า 33 – 47
Bojukrapan, S., et al. (2016). The development of the instructional media with augmented reality technology entitled atomic model for Matthayomsuksa 4 students. In the 2nd National Conference on Technology and Innovation Management NCTIM 2016 (pp. 151-157). Maha Sarakham: Rajabhat Maha Sarakham University.
Grubert, J., Langlotz, T., Zollmann, S., & Regenbrecht, H. (2017). Towards pervasive augmented reality. IEEE Transactions on Visualization and Computer Graphics: 23(6), 1706-1724.
Joshua L. Mann. (2019). Augmented Reality, Virtual Reality, and Religion: Recent Developments and Their Significance. https://doi.org/10.1093/oso/9780190949983.003.0012 Pages C11–C11.N63 Published: October 2019.
Mekni, M., & Lemieux, A. (2014). Augmented reality: Applications, challenges, and future trends. Applied Computational Science, 205-214.
Milgram, P., & Kishino, F. (1994). A taxonomy of mixed reality visual displays. IEICE TRANSACTIONS on Information and Systems. 77(12), 1321-1329.
Yuen, S. C.-Y., Yaoyuneyong, G., & Johnson, E. (2011). Augmented reality: An overview and five directions for AR in education. Journal of Educational Technology Development and Exchange (JETDE). 4(1), 11.