การศึกษาความเป็นไปได้ในการส่งเสริมการดำเนินงานของสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม

Main Article Content

พีรพล สุวรรณชีพ
ประกอบ ใจมั่น

บทคัดย่อ

          บทความวิชาการนี้นำเสนอเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม ในการดำเนินงานของสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการสืบค้นข้อมูลสำหรับนักวิจัย สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการทำวิจัยในขั้นต่อไป และเป็นการเผยแพร่ความรู้ให้ผู้สนใจ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม, การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมในงานด้านศิลปะ, ศาสนา, วัฒนธรรม, การท่องเที่ยว, การเรียนรู้ และการประชาสัมพันธ์, โอกาสในการเข้าถึงเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมของผู้บริโภค รวมถึงการเสนอแนวคิดการใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมในการดำเนินงานของสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช

Article Details

How to Cite
[1]
สุวรรณชีพ พ. . และ ใจมั่น ป. ., “การศึกษาความเป็นไปได้ในการส่งเสริมการดำเนินงานของสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม”, ้่j of human, ปี 14, ฉบับที่ 2, น. 96–115, ธ.ค. 2024.
บท
บทความวิชาการและบทความวิจัย

References

กวิน งามจินดาวงศ์. (2560). การออกแบบระบบนำเสนอข้อมูลโบราณสถานด้วยเทคโนโลยีที่ผสานโลกจริงเข้ากับโลกเสมือนผ่านแบบจำลองกายภาพ: กรณีศึกษา โบราณสถานปราสาทเขาโล้น จังหวัดสระแก้ว สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาสถาปัตยกรรมคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

คมกฤช จิระบุตร และคณะ. (2560). การสร้างสื่อแผนที่ท่องเที่ยวโดยการใช้เทคโนโลยี Augmented Reality เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย. ในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงาน สืบเนื่องการประชุมสัมมนาวิชาการ (Proceedings) การนำ เสนอผลงานวิจัย ระดับชาติเครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17.

จิรากร เฉลิมดิษฐ์, นวรัตน์ วิทยาคม และณมน จีรังสุวรรณ (2561). ความท้าทายในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมกับการศึกษายุค 4.0. Journal of Education Naresuan University Vol.20 No.2 April - June 2018 pp 266-279

ณกฤช รัตนวงศา และคณะ. (2563). แผนที่ท่องเที่ยวแบบความจริงเสมือน กรณีศึกษาอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารสาระคาม, 11(1), 33 - 44.

ทรงสิริ วิชิรานนท และคณะ. (2562). การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีเสมือนจริงส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีชุมชนคูบัวจังหวัดราชบุรี. งานประชุมวิชาการระดับชาติด้านการท่องเที่ยวกับมนุษยศาสตร์ ครั้งที่ 1 วันที่ 19-20 ธันวาคม 2562. การท่องเที่ยวกับมนุษยศาสตร์: การท่องเที่ยวในยุคเปลี่ยนผ่าน. หน้า 733 – 746.

นิติศักดิ์ เจริญรูป. 2560. การประยุกต์ใช้ความเป็นจริงเสริมเพื่อนําเสนอข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว: กรณีศึกษาวัดพระแก้ว จังหวัดเชียงราย. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่. ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2560 หน้าที่ 13-30

บุญชู บุญลิขิตศิร. (2561). การออกแบบสื่อความเป็นจริงเสริมหอศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออก. วารสารสารสนเทศศาสตร์ ปีที่ 36 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม - กันยายน 2561) หน้า 19 – 41.

ปรีดา สามงามยา, สุพัตรา ศรีสุวรรณ. (2563). การพัฒนาสื่อเทคโนโลยีอัจฉริยะเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมของฐานเรียนรู้ชุมชนบ้านท่าคอยอำเภอศรีประจันต์จังหวัดสุพรรณบุรี วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2563 หน้า 190 – 200.

พจน์ศิรินทร์ ลิมปินันทน์. (2562). การส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดมหาสารคามโดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 6(1), 8-16.

พจน์ศิรินทร์ ลิมปินันทน. (2562). การส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดมหาสารคามโดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม. ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2562. หน้า 8 – 16.

พันทิพา หนูซื่อตรง. (2561). ผลการเรียนด้วยหนังสือเรียนร่วมกับเทคโนโลยีความจริงเสริม และกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ด้วยเทคนิคจิ๊กซอว์วิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 Veridian E-Journal, Silpakorn University. ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2561 ISSN 1906 – 3431 หน้า 909 -925

สภาวิจัยแห่งชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์ Soft Power ของไทย : บทเรียนจากจีน ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้สู่การประยุกต์ใช้ของไทย”. สืบค้นจาก https://www.trf.or.th/index.php/2014-02-12-02-42-17/10526-thai-soft-power-strategy

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2562). [ออนไลน์] Augmented Reality คืออะไร.Retrieved from https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/3083-ar-technology

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2562). [ออนไลน์] ศัพท์บัญญัติส ำนักงำนรำชบัณฑิตยสภำ. Retrieved fromhttp://www.royin.go.th/coined_word/

สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช. (2565). 11 สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดดีเด่น ปี 2565 แหล่งที่มา https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/59539

สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช. (2566) สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช แหล่งที่มา https://nakhonsrithammarat.m-culture.go.th/th

สิทธิพร พรอุดมทรัพย์. (2013). การพัฒนาเว็บไซต์การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ด้วยความเป็นจริงเสริมและการสำรวจความพึงพอใจผู้ใช้งานกรณีศึกษา ระบบทดลองเสื้อผ้าซิ่นตีนจกเสมือนจริง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561.

สุรพงษ์ วิริยะ, อนันตทรัพย์ สุขประดิษฐ์และ รษา ทองคงอยู่. 2560. การพัฒนาเทคโนโลยีการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เสมือนจริงในจังหวัดนครสวรรค์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการการระดับชาติ. ครั้งที่ 4 สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฎกําแพงเพชร หน้าที่ 1253-1560

สุวารีย์ศรีปูณะ และคณะ. (2558). การสร้างและพัฒนาสื่อการท่องเที่ยวประเภทเว็บไซต์เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย. วารสารวิจัยสหวิทยาการไทย, 10(3), 31-37

สุวิชัย พรรษา. (2561). การพัฒนาสื่อความเป็นจริงเสริมเพื่อการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ ศิลปะแม่ไม้มวยไทย. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2561 หน้า 146-154.

อรรถศาสตร์ เวียงสงค์ และคณะ. (2553). การพัฒนาสื่อความเป็นจริงเสมือน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 29(4), 446-455.

อัครเทพ อัคคีเดช. (2563). การพัฒนาสื่อเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมเรื่อง เครื่องดนตรีสากล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

อารญา หลวงอี่ และ เพียงฤหัย หนูสวัสดิ์ (2562). การพัฒนาเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และท่องเที่ยววนอุทยานปราณบุรี. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 4. 26 – 28 มิถุนายน 2562.

อำไพ ยงกุลวณิช. (2561). การพัฒนาเอกสารแนะนำการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบบเสมือนจริง หมู่บ้านปลาค้าว จังหวัดอำนาจเจริญ. วารสารศรีวนาลัยวิจัย, 8(2), 15-26.

อิงอร เนตรานนท์. (2563). พลังอำนาจแห่งชาติอำนาจแบบอ่อนของไทยในศตวรรษที่ 21. วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ มกราคม - เมษายน ๒๕๖๓. หน้า 33 – 47

Bojukrapan, S., et al. (2016). The development of the instructional media with augmented reality technology entitled atomic model for Matthayomsuksa 4 students. In the 2nd National Conference on Technology and Innovation Management NCTIM 2016 (pp. 151-157). Maha Sarakham: Rajabhat Maha Sarakham University.

Grubert, J., Langlotz, T., Zollmann, S., & Regenbrecht, H. (2017). Towards pervasive augmented reality. IEEE Transactions on Visualization and Computer Graphics: 23(6), 1706-1724.

Joshua L. Mann. (2019). Augmented Reality, Virtual Reality, and Religion: Recent Developments and Their Significance. https://doi.org/10.1093/oso/9780190949983.003.0012 Pages C11–C11.N63 Published: October 2019.

Mekni, M., & Lemieux, A. (2014). Augmented reality: Applications, challenges, and future trends. Applied Computational Science, 205-214.

Milgram, P., & Kishino, F. (1994). A taxonomy of mixed reality visual displays. IEICE TRANSACTIONS on Information and Systems. 77(12), 1321-1329.

Yuen, S. C.-Y., Yaoyuneyong, G., & Johnson, E. (2011). Augmented reality: An overview and five directions for AR in education. Journal of Educational Technology Development and Exchange (JETDE). 4(1), 11.