กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดค้าปลีกสมัยใหม่ ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภค
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดค้าปลีกสมัยใหม่ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภค จากการที่การค้าปลีกไทยมีมูลค่ามากกว่า 3 ล้านล้านบาท โดยเฉพาะกลุ่มร้านค้าปลีกสมัยใหม่ที่ยังมีโอกาสขยายตัวได้อีกเพราะผู้บริโภคให้ความนิยมเป็นอย่างสูง และการเข้ามาของเทคโนโลยีดิจิทัลทำให้กิจการร้านค้าปลีกมีกระบวนการทำงานที่สะดวกและมีประสิทธิภาพมากขึ้น กลยุทธ์การตลาดจะตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคในการมีสินค้าให้เลือกมากมายหลายประเภทและเพิ่มความได้เปรียบในการแข่งขัน สอดคล้องกับพฤติกรรมของคนส่วนใหญ่ต้องมาทำงานที่บ้านมากขึ้นผู้บริโภคจะมองหาเทคโนโลยีใหม่ๆ หรือเครื่องทุ่นแรงที่ทำให้ไม่ต้องมีการเดินทางหรือลดการเดินทางไปเลือกซื้อสินค้า ซึ่งเทคโนโลยีจะสร้างประสบการณ์ใหม่ๆ ที่จะเชื่อมระหว่างร้านค้าปลีกและลูกค้าเข้าด้วยกัน และปรับตัวได้ทันในโลกของ New Normal และจะสร้างความจงรักภักดีให้กับร้านค้าปลีกในโลกหลัง Covid-19 ที่สามารถสร้างการรับรู้ให้กับลูกค้า จนทำให้ต้องกลับมาซื้อสินค้าในร้านค้าอย่างต่อเนื่อง หรือก่อให้เกิดการซื้อซ้ำอยู่เป็นประจำ ซึ่งจะสร้างความเจริญเติบโตและมั่นคงต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์จะเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการสังคมมนุษย์
References
คุณานนต์ บุญพุ่มพวง. (2564). การเปรียบเทียบพฤติกรรมผู้บริโภคที่เลือกใช้บริการธุรกิจค้าปลีกในจังหวัดเชียงราย กรณีศึกษา ร้านธนพิริยะและร้านเทสโก้ โลตัส เอ็กซ์เพรส. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.
ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์. (2564). ความปกติรูปแบบใหม่หรือวิถีชีวิตปกติแบบใหม่ภายหลังโรคอุบัติใหม่ โควิด-19 : ธุรกิจออนไลน์ ธุรกิจค้าปลีกและธุรกิจร้านอาหารกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ไทย. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ปีที่ 8, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย.2564), หน้า 246-274.
บจม.ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน). (2565). รายงานประจำปี 2564 บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน). กรุงเทพฯ: บจม.ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน).
พูลสุข นิลกิจศรานนท์, และปิยะนุช สถาพงศ์ภักดี. (2560). ธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่. แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2560-62, 1-11.
พฤกษา ตัณฑ์เจริญรัตน์. (2564). อิทธิพลของการตลาดการมองเห็นต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า ประเภท กาแฟสำเร็จรูปในร้านค้าปลีก. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยนเรศวร
วิศณุกร ผุยมูลตรี. (2562). การค้นหารูปแบบการซื้อสินค้าแบบสั้นสุดที่มีมูลค่าสูงสุดจากฐานข้อมูลการค้าปลีก : ตัวอย่าง จริงจากบริษัทค้าปลีกรายใหญ่ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมข้อมูลขนาดใหญ่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ศานิต สุตา. (2564). สื่อโฆษณาและพฤติกรรมของผู้บริโภค กรณีศึกษาห้างสรรพสินค้าโมเดิร์นเทรดจังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจธุรกิจและเศรษฐกิจฐานราก. (2565). ธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่. เข้าถึงเมื่อ 2 เมษายน พ.ศ.2565. เข้าถึงได้จาก https://www.gsb.or.th/getattachment/f4bdf859-3b2b-48b1-88d2- 6edbebcec925/IN_Sunrise_59_60_detail.aspx
สมศรี พุทธธรรมวงศ์. (2565). แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนด้านปัญญาประดิษฐ์ที่สอดคล้องกับความต้องการของการค้าปลีกยุคใหม่. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาพัฒนศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
สิริชัย ดีเลิศ. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ของกลุ่มผู้บริโภคตลาดเฉพาะกลุ่ม. Veridian E-Journal, 11(1), 2404-2424.
เสาวลักษณ์ สมานพิทักษ์วงค์. (2560). ส่วนประสมทางการตลาดในการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่าน
ระบบอินเตอร์ เน็ตของผู้บริโภคในเขตจังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
อนินทรีย์ โยธา. (2564). พฤติกรรมและการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคห้างค้าปลีกสมัยใหม่ใน จังหวัด ราชบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
อรุโณทัย ปัญญา. (2562). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ
เสื้อผ้าแฟชั่นผ่านสังคมออนไลน์ (เฟซบุ๊ก) ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
Chieng, Y. L. & Lee, C. G. (2011). Dimensions of customer-based brand equity: A study on Malaysian brands. Journal of Marketing Research and Case Studies, 2011, 1-10. Doi: 10.5171/2011.821981
Geraghty, G., & Conway, A. (2016). The study of traditional and non-traditional marketing communications: Target Marketing in the Events Sector. Tourism and Hospitality Research in Ireland Conference, 2016, 1-26.
Kelly, L., Kerr, G., & Drennan, J. (2010). Avoidance of Advertising in Social Networking Sites. Journal of Interactive Advertising. 10(2), 16-27.
Kim, J. H., &Hyun, Y. J. (2011). A model to investigate the influence of marketing-mix efforts and corporate image on brand equity in the IT software sector. Journal of Industrial Marketing Management. 40(3), 424-438. Doi:10.1016/j.indmarman.2010.06.024
Martins, C. A., & Rodrigues, C. S. (2014). Brand sensuality and customer-based brand equity. Portuguese: University of Porto.
Raji, R. A. (2018). The relationships between social media marketing communications, consumer- based brand equity and consumer response among automotive brands in Malaysia. Malaysia: University Utara Malaysia.
Sanaz, F., & Xu, H. (2015). Reviewing the concept of brand equity and evaluating consumer based brand equity (CBBE) models. International Journal of Management Science and Business Administration, 8 (1), 14-29.
Sanjay, B., & Nishant, V. V. (2014). Internet marketing vs traditional marketing: A comparative analysis. FIIB Business Review, 3(3), 53-63.
Savitha N. (2018). Factors influencing electronic word-of-mouth adoption by consumers: An investigation. International Research Journal of Management Science & Technology, 9(3), 1-11.
Tsia, W. S., & Men, L. R. (2013). Motivations and Antecedents of Consumer Engagement with Brand Pages on Social Networking Sites. Journal of Interactive Advertising. 13(2),76-87.
Wertime, K., and Fenwick, L. (2008). DigiMarketing: The Essential Guide to New Media and Digital Marketing. Singapore: John Wiley.