คุณลักษณะของนวัตกรรมในธุรกิจโรงแรมประเภทโฮสเทลในเขตอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คำสำคัญ:
นวัตกรรม, โฮสเทล, คุณลักษณะบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) คุณลักษณะของนวัตกรรมในธุรกิจโรงแรมประเภทโฮสเทล 2) ระดับคุณลักษณะของนวัตกรรมในธุรกิจโรงแรมประเภทโฮสเทล เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมประเภทโฮสเทล จำนวน 8 คน จากนั้นจึงเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามกับผู้รับบริการในธุรกิจโรงแรมประเภทโฮมเทล จำนวน 160 คน โดยคำนวณขนาดตัวอย่างด้วยโปรแกรม G* POWER
ผลการศึกษาพบว่า 1) คุณลักษณะของนวัตกรรมในธุรกิจโรงแรมประเภทโฮสเทล แบ่งออกเป็น 8 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณสมบัติของสินค้า ด้านระบบนิเวศทางธุรกิจ ด้านการสร้างภาพลักษณ์ ด้านการเข้าถึงผู้รับบริการและความปลอดภัย ด้านบริการเสริม ด้านรูปแบบรายได้และกำไร ด้านการจัดการภายในองค์กร และด้านพันธมิตรและเครือข่ายธุรกิจ 2) ระดับคุณลักษณะของของนวัตกรรมทั้ง 8 ด้าน พบว่า ด้านคุณสมบัติของสินค้าละบริการ อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ด้านระบบนิเวศทางธุรกิจ อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านการสร้างภาพลักษณ์ อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านการเข้าถึงผู้รับบริการและความปลอดภัย อยู่ในระดับมาก ด้านบริการเสริม อยู่ในระดับมาก ด้านรูปแบบของรายได้และกำไร อยู่ในระดับมาก ตามลำดับ
References
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2565). แผนปฏิบัติราชการรายปี 2565. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
ชลธิชา อินอุ่นโชติ , จินดารัตน์ ปีมณี, และ คมกริช วงศ์แข. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างนวัตกรรมการตลาดสมัยใหม่กับความสำเร็จธุรกิจของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย.วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9(4), 88-97.
ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ และ เกิดศิริ เจริญวิศาล. (2565). การประยุกต์เทคโนโลยีและนวัตกรรมสําหรับอุตสาหกรรมโรงแรมยุคดิจิทัล. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 8(1), 251-266.
ปฐมพร ศรีมณี. (2561). นวัตกรรมการบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าพักโรงแรมบูติคในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. มหาสารคาม.
ปริชล วิมลเมือง. (2560). แนวทางการพัฒนาโฮสเทล เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่ม Solo Travel ในอำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. ภูเก็ต.
สมพงษ์ อำนวยเงินตรา. (2559). สร้างมูลค่าเพิ่มธุรกิจโรงแรมด้วยกลยุทธ์ Blue Ocean. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย. 36(1), 1-23.
สิริทิพย์ ฉลอง. (2563). ธุรกิจโรงแรม. วารสารวิเคราะห์เศรษฐกิจภาคบริการ ส่วนเศรษฐกิจรายสาขาศูนย์วิจัยธนาคารออมสิน. 1(1), 1-6.
รามณรงค นิลกําแหง และ กันฑิมาลย จินดาประเสริฐ. (2565). แนวทางการบริการวิถีความปกติใหม (New Normal) ของหองอาหารโรงแรมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. 8(5), 375-388.
ระชานนท์ ทวีผล. (2563). การดำรงอยู่ของธุรกิจที่พักที่ไม่ใช่โรงแรมบนพื้นฐานแห่งธรรมาภิบาล กรณีศึกษาธุรกิจโฮสเทลในเขตอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 7(21), 21-21.
รัชมงคล ทองหล่อ, จรัลชัย บุญเพิ่ม, ธนัท วัฒนวานิชย์กุล, แพรวเนตร อุ๋ยวงษ์, อรรญา มูลคา และ อาภารัตน์ อังสุมาลิน. (2564). วาทกรรมคุณภาพการให้บริการที่ปรากฏบนแพลตฟอร์มตัวแทนให้บริการจองที่พักแรมแบบ โฮสเทลในเขตกรุงเทพมหานคร: บริบทการสื่อสารแบบปากต่อปากบนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยวิธีวิทยาการวิเคราะห์เนื้อหา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม. 11(2), 132-142.
Albaum, G. (1997). The Likert scale revisited. Market Research Society Journal. 39(2), 1-21.
Díaz, M. M., & Duque, C. M. (2021). Open innovation through customer satisfaction: A logit model to explain customer recommendations in the hotel sector. Journal of Open Innovation: Technology, Market, and Complexity, 7(3), 180.
Dung, L., & Giang, P. (2021). Strategic responses of the hotel sector to COVID-19: Toward a refined pandemic crisis management framework. International Journal of Hospitality Management. 10(2021), 102808.
Faul, F., Erdfelder, E., & Buchner, A. (2017). G*Power 3: A flexible statistical power analysis program for the social, behavioral, and biomedical sciences. Behavior Research Methods. 39 (2), 175-191.
Gelbman, A. (2021). Tourist Experience and Innovative Hospitality Management in Different Cities. Sustainability. 13(12), 6578.
Konovalova, & Jatuliavicene. (2015). Innovation Development Perspectives Prespectives In A Hotel Industry By Example Of Radisson Hotel Chain In Ukraine. Regional Formation and Development Studies. 1(15), 2029-9370.
Martin-Rios, C., & Ciobanul, T. (2019). Hospitality innovation strategies: An analysis of success factors and challenges. Journal homepage Tourism Management. 70 (2019), 2218–2229.
Mapp, T. (2008). Understanding phenomenology: The lived experience. British Journal of Midwifery. 16(5), 308-311.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสาร TCI อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) เว้นแต่จะรุบุไว้เป็นอย่างอื่นโปรดอ่านหน้านโยบายของเราสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเช้าถึงแบบเปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต