แรงจูงใจในการท่องเที่ยวภายในประเทศไทยของประชากรรุ่นแซด

ผู้แต่ง

  • Pongsavake Anekjumnongporn School of Humanities and Tourism Management, Bangkok University
  • ธัญญลักษณ์ เอนกจำนงค์พร

คำสำคัญ:

แรงจูงใจในการท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวภายในประเทศ, ประชากรรุ่นแซด

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการท่องเที่ยวภายในประเทศไทยของประชากรรุ่นแซด และ 2) เปรียบเทียบแรงจูงใจในการท่องเที่ยวภายในประเทศไทยของประชากรรุ่นแซดกับปัจจัยทางชีวสังคม เลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนพร้อมทั้งเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากประชากรรุ่นแซด จำนวน 1,047 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบทีที่เป็นอิสระต่อกัน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนหนึ่งทาง

ผลการวิจัย พบว่า 1) ประชากรรุ่นแซดมีแรงจูงใจในการท่องเที่ยวภายในประเทศไทยระดับค่อนข้างสูง และ 2) ประชากรรุ่นแซดที่มีอาชีพและรายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการท่องเที่ยวภายในประเทศไทยแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

ข่าวสด. (2563). เปิดกลยุทธ์ท่องเที่ยวไทย รุกหนักปี 2564-หวังฟื้นคืน. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2564, จาก https://www.khaosod.co.th/economics/news_5221509.

จุฑารัตน์ เพ็ชรประคอง, ฐิติมา มากศรี, ชญานิษฐ์ จารุพันธ์, รัชดาภรณ์ เหล้นเฉื้อง, อรัญญา วงศ์พุฒ และอรจันทร์ ศิริโชติ. (2561). แรงจูงใจของนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 31(3), 178-184.

ชัยวัฒน์ เกตุสิทธิบูล. (2547). แรงจูงใจในการท่องเที่ยวในประเทศของผู้ที่พำนักอยู่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม. กรุงเทพฯ.

นำชัย ชีววิวรรธน์. (2563). COVID-19 โรคระบาดแห่งศตวรรษ. กรุงเทพฯ: มติชน.

ธรา สุขคีรี. และเลิศพร ภาระสกุล. (2559). แรงจูงใจและทัศนคติของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อคุณลักษณะด้านสภาพแวดล้อมและการจัดการการท่องเที่ยวในอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 12(3), 233-248.

วลัยพร ริ้วตระกูลไพบูลย์. (2557). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว. (พิมพ์ครั้งที่ 5). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ศิวพร มีนาภา. (2562). ปัจจัยแรงจูงใจในการท่องเที่ยวและปัจจัยองค์ประกอบของแหล่งท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. กรุงเทพฯ.

ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร. (2558). รูปแบบการบริหารกรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2564, จาก http://203.155.220.230/m.info/bma_k/knw5.html

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2563). ตลาดไทยเที่ยวไทยช่วงโค้งสุดท้ายของปี 2563 ... คนไทยมีแผนท่องเที่ยว แต่กังวลโควิด เศรษฐกิจ และการเมือง (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3152). สืบค้นเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2564, จาก https://kasikornresearch.com/TH/analysis/k-econ/business/Pages/z3152--Thai-Travel.aspx.

สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553 – 2583. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

Auliya, Z. & Pertiwi, Imanda. (2020). The influence of electronic word of mouth (E-WOM) and travel motivation toward the interest in visiting Lombok, gender as a mediator. INFERENSI: Jurnal Penelitian Sosial Keagamaan, 13, 201-218.

Christina, K., Leonidas, H., Thomas, F. & Folinas, D. (2020). Push and pull travel motivation: Segmentation of the Greek market for social media marketing in tourism. Sustainability, 12(11), 4770-4787.

Cronbach, L. J. (1990). Essential of psychological testing. New York: Harper & Row.

Dlomo, N. C. & Ezeuduji, I. O. (2020). Local residents’ assessment of South Africa as a domestic leisure travel destination. African Journal of Hospitality, Tourism and Leisure, 9(3), 335-348.

Faul, F., Erdfelder, E., Buchner, A. & Lang, A. G. (2009). Statistical power analyses using G*Power 3.1: Tests for correlation and regression analyses. Behavior research methods, 41(4), 1149-1160.

Gardiner, S., Grace, D. & King, C. (2014). The generation effect: The future of domestic tourism in Australia. Journal of Travel Research, 53(6), 705-720.

Kalmár-Rimóczi, C. (2019). Touristic motivation and lifestyles of Hungarian domestic tourists correlation study. Applied Studies in Agribusiness and Commerce, 13(1-2), 47-54.

Kifworo, C., Okello, M. M. & Cheloti-Mapelu, I. (2020). Demographic Profiling and Domestic Tourism Participation Behavior in Nairobi County, Kenya. Journal of Tourism Management Research, 7(2), 155-169.

Krishnapillai, G. & Kwok, S. Y. (2020). Uncovering the muslim leisure tourists’ motivation to travel domestically - Do gender and generation matters?. Tourism and Hospitality Management, 26(1), 213-231.

Lwoga, N. & Maturo, E. (2020). Motivation-based segmentation of rural tourism market in African villages. Development Southern Africa, 37(5), 773-790.

Morupisi, P. & Mokgalo, L. (2017). Domestic tourism challenges in Botswana: A stakeholders' perspective. Cogent Social Sciences, 3(1), 1-12.

Peng, J., Xiao, H., Wang, J. & Zhang, J. (2020). Impact of severe smog on travel demand of residents in tourist generating places: A case study of Beijing. Current Issues in Tourism, 23(16), 2009-2026.

Prayag, G., Suntikul, W. & Agyeiwaah, E. (2018). Domestic tourists to Elmina Castle, Ghana: motivation, tourism impacts, place attachment, and satisfaction, Journal of Sustainable Tourism, 26(12), 1-18.

Schroer, W. J. (2015). Generations X,Y, Z and the others. Retrieved on December 25, 2020, from: http://www.socialmarketing.org/newsletter/features/generation2.htm.

Slivar, I., Aleric, D., & Dolenec, S. (2019). Leisure travel behavior of generation Y & Z at the destination and post-purchase. E-Journal of Tourism, 6(2), 147-159.

Wachyuni, S., & Kusumaningrum, D. (2020). The effect of COVID-19 pandemic: How are the future tourist behavior?. Journal of Education, Society and Behavioural Science, 33(4), 67-76.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-03

How to Cite

Anekjumnongporn, P., & เอนกจำนงค์พร ธ. (2022). แรงจูงใจในการท่องเที่ยวภายในประเทศไทยของประชากรรุ่นแซด. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10(2), 100–113. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/hssj/article/view/253097