การวิเคราะห์ภาวะผู้นำในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย : การศึกษาการบริหารงานสรารณสุขในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล

ผู้แต่ง

  • คมกริช ฤทธิ์บุรี

คำสำคัญ:

รูปแบบภาวะผู้นำ, การบริหารงานสาธารณสุข, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการณ์ภาวะผู้นำ และเสนอรูปแบบสภาพการณ์ภาวะผู้นำในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ฉพาะการบริหารงานสาธารณสุขในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล โดยศึกษในพื้นที่ อบต.สำพญากลาง จังหวัดสระบุรี อบต.ปากน้ำปราณจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อบต.โพนทอง จังหวัดชัยภูมิ

ผลการศึกษา พบว่า สภาพกรณ์ภาวะผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารงานสาธารณสุข มีส่วนสธรณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเป็นองค์ประกอบสำคัญ ซึ่งผู้นำองค์การบหารส่วนตำบลสมารถบริหารงานด้านสาธารณสุขให้บรรลุวัตถุประสงค์โดยใช้การบริหาร การจัดองค์กร มีโครงสร้างและการจัดอัตรากำลัง การวางแผนงาน การอำนวยการและการกำหนดนโยบายของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล และพบว่า รูปแบบสภาพการณ์ภาวะผู้นำที่สอดคล้องกับบริบทขององค์กรบริหารส่วนตำบล ในกรณีศึกษานี้มีองค์ประกอบคุณลักษณะภาวะผู้นำในกาบริหารงานสาธารณสุข 7 องค์ประกอบ คือ แรงจูงใจ ทักษะทางปัญญา ทักษะด้นมโนทัศ แบบแผนที่ยืดเป็นแนวทางปฏิบัติ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้นำกับผู้ตามการมีส่วนร่วมช่วยเหลือสนับสนและการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง

รูปแบบสภาพการณ์ภาวะผู้นำที่เสนอ คือ สภาพการณ์ภาวะผู้นำที่มีอุดมการณ์ ได้แก่ การเห็นคุณคำในตนองของผู้นำ ความชื่อมั่นในตัวของผู้ตาม การยอมรับการบริหารงานสาธารณสุขในองค์กร และการเปิดโอกสการบริหารงานสรารณสุขในองค์กรแบบมีส่วนร่วม

References

กองราชการส่วนตำบลกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2543). คู่มือการปฏิบัติงานการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล. กรุงเทพมหานคร : อาสารักษาดินแดน.
จิรบูรณ์ โตสงวน และคนอื่น ๆ. (2553). “การกระจายอำนาจด้านการส่งเสริมสุขภาพในประเทศเม็กซิโก สวีเดน และนิวซีแลนด์.” วิจัยระบบสาธารณสุข. 4 (มกราคม-มีนาคม 2553),108-122.
จุมพล หนิมพานิช. (2551). การวิจัยเชิงคุณภาพในทางรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชาย โพธิสิตา. (2547). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ทวีศักดิ์ นพเกษร. (2548). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เล่ม 1 : คู่มือปฏิบัติการวิจัยประยุกต์เพื่อพัฒนาคน องค์กรชุมชนสังคม. กรุงเทพฯ : ชมรมพยาบาลชุมชนแห่งประเทศไทย.
ธเนศ ยุคันตวนิชชัย. (2549). ภาวะผู้นำเพื่อความเป็นเลิศในการบริหารงานเป็นทีมของผู้นำองค์การบริหารส่วนตำบล กรณีศึกษาเฉพาะองค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดอุดรธานีและจังหวัดหนองบัวลำภู. วิทยานิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต,มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
นิศา ชูโต. (2551). การวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : บริษัทพริ้นติ้งโพร จำกัด.
ปิยพร ขนอม. (2554). กระบวนการทำงานและปัจจัยเงื่อนไขในการพัฒนางานสาธารณสุขขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครศรีธรรมราช. วิจัยระบบสาธารณสุข.5 (ตุลาคม– ธันวาคม 2554), 539–547.
สุธีญา พรหมมาก. (2554). ภาวะผู้นำกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหิดล.
สุนี วงศ์คงคาเทพ และคนอื่น ๆ. (2540). การศึกษาบทบาทองค์การบริหารส่วนตำบลต่อการพัฒนางานสาธารณสุขระดับตำบล อำเภอเมืองและอำเภอพัฒนานิคมจังหวัดลพบุรี. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลพบุรี.
สุภางค์ จันทวานิช. (2543). การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
_______.(2554). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 19. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภาวดี ติมินทระ. (2548). ภาวะผู้นำในการพัฒนาท้องถิ่นของกรรมการองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
Adair Jonh. (2003). Notbosses but leader. Talbot Adair Press, Westbury Monor,Compton Guildford.
Bass, B.M. (1985). leadership and Performace beyond Expections. New York :he free press.
Bass, B.M., and Avolio, B.J. (1994). Improving Organizational Effectivenessthrough Transformational leadership. Newbery : park CA.
Blake, R.R., and Mouton, J.S. (1985). The managerial grid. Honton, Texas :Gulf publishing.
Brown, W. and D.Moberg. (1980). Organization Theory and Management :A Macroapproach. New York : John Wiley & Sons, Inc.
Burn, J.M. (1978). Leadership. New Yolk : Harper & Row.
Fiedler, F.E. (1967). Theory of Leadership Effectiveness. NewYork : McGraw-Hill.
Gibson, J.L., Ivancevich, J.M., & Donnelly, J.H. (1997). Organization Behavior Structure Process. 9thed. New York : McGraw-Hill.
Hersey, P. and Blanchard. (1993). Management of Organizational Behavior :Utilizing Human Resources. 5th ed. Englewood Cliffs : Prentice hall.
Likert, R. (1967). New Patterns of Management. New York : McGraw-hill,
McGergor, D. (1960). The Human Side of Enterprise. New York : McGraw-Hill.
Nelson, D.L., & Quick, J.C. (1997). Organizational Behavior : Foundations Realities and Challenges. New York : West Publishing Company.
Paige, G. D. (1977). The Scientific Study of Political Leadership. New York :The Free Press.
Stogdill, R.M. (1974). Handbook of leadership : a survey of literature. New York :The free press.
Tichy, R.M., and DeVanna, M.A. (1990). The Tranfromational leader. New York :John Wiley and Sons.
Yulk Gary. (1998). Leadership in Organization. 4th ed. New York : Prentice hill.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2014-11-30

How to Cite

ฤทธิ์บุรี ค. (2014). การวิเคราะห์ภาวะผู้นำในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย : การศึกษาการบริหารงานสรารณสุขในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2(1), 10–28. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/hssj/article/view/252400