แนวทางการเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการที่พักแรมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ในเขตพื้นที่พัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา

ผู้แต่ง

  • penpaksina wicheanwan Saun Dusit University

คำสำคัญ:

การบริหารจัดการ, ที่พักเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อจัดทำแนวทางการเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการที่พักแรมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงผสมผสาน (Mixed Methods Research) ซึ่งการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามแก่พนักงานและผู้ประกอบการ เพื่อศึกษาศักยภาพการบริหารจัดการ โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation ) สถิติทดสอบ t-test และ F-test และการวิจัยเชิงคุณภาพใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์เชิงลึกแก่ผู้บริหารหรือผู้แทนรวมทั้งกลุ่มผู้ให้ข้อมูลคนสำคัญ เพื่อจัดทำแนวทางการเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการ ใช้วิธีวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) โดยวิเคราะห์สรุปประเด็นเนื้อหาแยกประเด็นคำตอบออกเป็นหมวดหมู่ จากการศึกษาวิจัยพบว่า แนวทางการเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการหรือความสามารถในการดำเนินงาน ควรเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการด้านวางแผนด้านการตลาด (Marketing) มากที่สุด เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ของการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสำหรับนอกฤดูกาลท่องเที่ยว (Low-season) ของที่พักแรมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ

References

เอกสารอ้างอิง
กานดา ธีรานนท์. (2560). การทองเที่ยวเชิงสุขภาพของประเทศไทย: สถานการณและศักยภาพ
ทางการแขงขันในภูมิภาคอาเซียน. FEU academic review. 12(Supplement). 22-22.
กรมการท่องเที่ยว .(2561). แผนยุทธศาสตร์พัฒนาการท่องเที่ยว พ.ศ. 2561 – 2564. สืบค้นเมื่อ
9 เมษายน 2563, จาก https://www.dot.go.th/storage5V7jtvCF7hvNiPXPU7MOdT7giHiF1ZbRokN8nBVx.pdf
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2558). ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558-2560. สืบค้นเมื่อ
9 เมษายน 2563, จาก http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER3/DRAWER065/GENERAL/DATA0000/00000359.PDF
กัลยา สว่างคง และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2561). กลยุทธ์พันธมิตรทางธุรกิจ: ทางเลือกสำหรับ
ผู้ประกอบการธุรกิจนำเที่ยวของไทย. Veridian E-Journal, Silpakorn Universit . 11(1). 150-167.
จรัล งามวิโรจน์เจริญ. (2562). Organizational Resilience องค์กรที่ใช้ความยืดหยุ่นเป็นแนวทาง
ปฏิบัติ. สืบค้นเมื่อ 9 เมษายน 2563, จาก
https://thaipublica.org/2020/05/data-driven-society44/
นิติ รัตนปรีชาเวช และจิตตาภรณ์ ศรีบุญจิตต์. (2559). กลยุทธ์ในการรับมือกับความไม่แน่นอนของอัตรา
ว่างในช่วงนอกฤดูกาลเดินทางในธุรกิจโรงแรม. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์. 38(150). 93-125.
บริษัท เอฟฟินิตี้ จำกัด. (2559). รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการทิศทางการพัฒนา
ท่องเที่ยวของประเทศไทยในระยะ 10 ปี. สืบค้นเมื่อ 9 เมษายน 2563, จาก
https://secretary.mots.go.th/ewtadmin/ewt/policy/article_attach/02FinalReportDirection10Year.pdf
ยศวจน์ พยุงผลชัยสาร และ สมชาย คุ้มพูล. (2558). ขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน
ต้อนรับบนเครื่องบินบริษัทการบินไทยจำกัด (มหาชน). วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. 4(1). 85-103.
วารสารวิชาการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2559). จับเทรนด์เป็นจุดขาย พลิกโอกาสท่องเที่ยว
ไทย. สืบค้นเมื่อ 9 เมษายน 2563, จาก http://www.etatjournal.com/web/menu-read-
tat/menu-2016/menu-22016/711-22016-trend-sell
วาสนา ศรีอัครลาภ และจิราวรรณ คงคล้าย. (2559). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การแห่งยุค
สารสนเทศ สู่องค์การยุคใหม่ในอนาคต. Veridian E-Journal, Silpakorn University. ฉบับ
ภาษาไทย สาขามนุษย์ศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 9(2): 328-338.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2559). 50 แนวคิด ตัวชี้วัด ตัวแบบของการบริหารจัดการและการบริหารจัดการ
ที่ยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์โฟร์เพซ.
วิไลลักษณ์ วงค์ชัย กัสมา กาซ้อน และวัฒนา ยืนยง. (2561). อิทธิพลของการบริหารงบประมาณที่มีต่อ
ประสิทธิผลการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ. 11(1). 88-96.
ศิริพงษ์ ฐานมั่น. (2562). การเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมในศตวรรษที่ 21 เพื่อรองรับองค์การแห่ง
ยุคเศรษฐกิจดิจิทัล. Valaya Alongkorn Review (Humanities and Social Science). 9(1). 146-163.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2559). สำรวจการประกอบกิจการโรงแรมและเกสต์เฮ้าส์ พ.ศ. 2559. สืบค้น
เมื่อ 9 เมษายน 2563, จาก http://www.nso.go.th/sites/2014/ A1.aspx
อนุรักษ์ ทองสุโขวงศ์. (2562). การจัดทํางบประมาณเพื่อการวางแผนและควบคุม. สืบค้น
เมื่อ 9 เมษายน 2563, จาก
https://home.kku. ac.th/anuton/cost%20accounting/cost%20management.htm.
CNN Travel. (2014). Asia's top 10 wellness resorts. Retrieved August 4, 2020 from
http://travel.cnn.com/top-10-wellness-resorts-asia-051906/
Global Wellness Institute. (2017). Global Wellness Economy Monitor 2017. Retrieved
August 4, 2020 From https://globalwellnessinstitute.org/industry-research/2018-global-wellness-economy-monitor/.
Hrout, S. A., & Mohamed, B. (2014). Human Resource Management Practice Tourism
and Hotel Industry. Retrieved August 4, 2013 from
https://www.shs-conferences.org/articles/shsconf/pdf/2014/09/
shsconf_4ictr2014_01076.pdf.
Pramjeeth, S. and Saheb, F. (2013), çA Marketing Framework to increase Sales during the
Off Peak Season: the Case of Travel Agencies in Mauritiusé, Elixir Marketing Mgmt,
59 (15885-15894).
John, P. (2014). How Can Hotels Increase Occupancy during the Off-Season Months?.
Retrieved August 4, 2020 from
http://www.hotelogix.com/blog/2014/07/17/how-can-hotels-increase-occupancy-during-the-off-season-months/?_hstc=753710.11ef 8ead0e77a213d1d7a135764129a4.1407146734185.1407146734185.1407146734185.1&_hssc=753710.1.1407146734185&_hsfp=674249037#comments
Senyao S., Wei H., & Ma N. (2020). How off-season tourism promotion affects seasonal
destinations? A multi-stakeholder perspective in Tibet. Retrieved August 4, 2020
from https://www.emerald.com/insight/content/doi/10.1108/TR-04-2019-
0123/full/html?casa_token=8MOq4dJp5r0AAAAA:2PAfdD2pHYIoij86KOutG0FmmfrV-hK2_DrQopACHwTqxdipr-qCE62hTllYHbHzrpS4OkftKrKCSSQTUGIQs5eZtan5IYDXeuFx1mG8uccBUQsoWkeNpg
Yamane, Taro.1973. Statistics: An Introductory Analysis. Third edition. Newyork : Harper
And Row Publication.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-24