Explicit Instruction of Collocations: An Impact on Learners’ Use and Perceptions

Authors

  • Sukhum Wasuntarasophit Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University

Keywords:

Explicit teaching/instruction, collocations, learners’ use and perceptions, วิธีการสอนที่มีกระบวนการและขั้นตอนที่ชัดเจน, คำเกิดร่วม, การใช้และความตระหนักของผู้เรียน

Abstract

As a part of vocabulary, the correct use of collocations can reflect English language proficiency (Richards, 2008), and explicit instruction is effective for vocabulary learning (Conzett, 2000 and Schmitt, 2000). This study aims to investigate English major students’ use of collocations and their perceptions on explicit learning of collocations after a year of instruction. A test of collocations and an open-ended questionnaire were administered to the fourth year English major students at Khon Kaen University, who were explicitly instructed in the use of some collocations. The mean and Analysis of Variance were utilized to analyze the data from the test scores. A content analysis and the percentage was used to analyze the data from the questionnaire. The test scores revealed that the students used some collocations correctly, and they could use everyday verbs, synonyms and confusable words more accurately than intensifying adverbs. The students perceived that the instruction of collocations should be done explicitly in class since it helped them to learn and become aware of collocation use as well as knowing how to check their collocation use from various sources.

 

การสอนคำเกิดร่วมด้วยวิธีการสอนที่มีกระบวนการและขั้นตอนที่ชัดเจน: ผลกระทบต่อการใช้และความตระหนักของผู้เรียน

ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของคำศัพท์ การใช้คำเกิดร่วมในภาษา อังกฤษที่ถูกต้องนั้นจะสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถทางภาษา อังกฤษของผู้เรียนได้ (Richards, 2008) และวิธีการสอนที่มี กระบวนการและขั้นตอนที่ชัดเจนนั้นมีประสิทธิผลต่อการเรียน การสอนคำศัพท์ (Conzett, 2000 and Schmitt, 2000) งานวิจัยนี้ มีจุดประสงค์ที่จะศึกษาการใช้คำเกิดร่วมและความตระหนักถึง คำเกิดร่วมของนักศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษที่มีผลมาจาก วิธีการ สอนที่มีกระบวนการและขั้นตอนที่ชัดเจน หลังจากการสอนนั้นผ่าน ไปแล้ว 1 ปี โดยใช้แบบทดสอบคำเกิดร่วมและแบบสอบถาม ปลายเปิดกับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิเคราะห์คะแนนที่ได้จากผลสอบ โดยค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ความแปรปรวน วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยการวิเคราะห์เนื้อหาและแปลงเป็นค่าร้อยละ พบว่านักศึกษายัง สามารถใช้คำเกิดร่วมบางส่วนได้ถูกต้อง และสามารถใช้คำเกิดร่วม กลุ่ม everyday verbs และ synonyms and confusable words ได้ ถูกต้องมากกว่า intensifying adverbs นักศึกษาส่วนใหญ่ตระหนักว่า คำเกิดร่วมควรมีการสอนในห้องเรียน เพราะการสอนคำเกิดร่วมจะ ทำให้นักศึกษาเรียนรู้และตระหนักถึงการใช้ภาษาที่ถูกต้อง และยัง ส่งผลให้นักศึกษา ได้รู้วิธีการและตรวจสอบการใช้คำเกิดร่วมของ ตนเองด้วยวิธีการต่างๆ

Downloads

How to Cite

Wasuntarasophit, S. (2015). Explicit Instruction of Collocations: An Impact on Learners’ Use and Perceptions. Journal of Humanities and Social Sciences Prince of Songkla University, 11(2), 37–71. retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/eJHUSO/article/view/82636