สภาวะสมัยใหม่และความเสี่ยง: มุมมองทางสังคมวิทยา

Authors

  • เชษฐา พวงหัตถ์ นักวิชาการอิสระ

Keywords:

สภาวะสมัยใหม่, ความเสี่ยง, สังคมความเสี่ยง, วัฒนธรรมของความเสี่ยง, การเข้าสู่สภาวะใหม่ที่สร้างปัญหาให้ต้องขบคิดทบทวน, Modernity, Risk, Risk Society, Risk Culture, Reflexive Modernisation

Abstract

ตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 หรือช่วงต้นของสหัสวรรษใหม่ เป็นต้นมา ความเสี่ยง (risk) เป็นประเด็นสำคัญอันหนึ่งที่ละเลย ไม่ได้ ในบทความนี้ ผู้เขียนนำงานเขียนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของ สภาวะสมัยใหม่และความเสี่ยงของนักสังคมวิทยาที่โดดเด่น สองคนมาพิจารณาคือ อุลริค เบ็คและแอนโธนี กิดเดนส์ ข้อสรุป ของผู้เขียนก็คือว่า สิ่งที่นักสังคมวิทยาทั้งสองคนมีความเหมือนกัน ก็คือความสนใจที่มีต่อสังคมสมัยใหม่ทั้งหลาย รวมตลอดถึง การที่ทั้งสองคนปรารถนาที่จะให้สาขาวิชาของตนได้ถูกนำไปใช้ เพื่อเป้าหมายผลประโยชน์ของสังคม จริงๆแล้วทั้งสองคนเชื่อว่า งานเขียนของตนนอกจากจะตั้งคำถามที่น่าสนใจแล้ว ยังนำเสนอ คำตอบบางประการที่มีต่อคำถามดังกล่าว

 

Modernity and risk: a sociological perspective

At the turn of the century and the millennium, risk is a topic which is impossible to ignore. The author, in this article, considers the work of two prominent sociologists who have written extensively on modernity and risk: Ulrich Beck and Anthony Giddens. The author concludes that what these two sociologists have in common is their interest in modern societies, and their desire to see their discipline used for socially useful purposes. Indeed, all two believe that their work not only asks interesting questions, but even provides some answers.

Downloads

How to Cite

พวงหัตถ์ เ. (2016). สภาวะสมัยใหม่และความเสี่ยง: มุมมองทางสังคมวิทยา. Journal of Humanities and Social Sciences Prince of Songkla University, 12(1), 9–38. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/eJHUSO/article/view/82215