เวลาประสบการณ์: การดำรงอยู่ในมรณพิธีของชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม วัดนักบุญอันนา ชุมชนหนองแสง จังหวัดนครพนม
คำสำคัญ:
เวลาประสบการณ์, พิธีเสกสุสาน, พื้นที่ความเป็นอื่นบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นถึงการดำรงอยู่ของ “เวลาประสบการณ์” (The Experienced Time) ในพื้นที่และพิธีกรรมของชาวคริสตังไทยเชื้อสายเวียดนาม ณ ชุมชนหนองแสง จังหวัดนครพนม พ.ศ. 2564 ด้วยการเข้าไปศึกษาซ้ำ (Re-Study) โดยอาศัยการศึกษาภาคสนามด้วยการสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม และศึกษาเอกสาร ที่ปรากฏข้อค้นพบ 3 ประเด็น ได้แก่ วัตถุจำเป็นของพิธีกรรม คน และสิ่งของ เวลาประสบการณ์ และพื้นที่ของความเป็นอื่น (Other Space): โบสถ์ สุสานและอาคารอเนกประสงค์ นำไปสู่ข้อเสนอที่ว่าการดำรงอยู่ของ “เวลาประสบการณ์” เกิดจากความเชื่อ ความศรัทธา ประเพณี และพิธีกรรมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันแล้วผลิตซ้ำปฏิบัติการนั้นขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมในพื้นที่ โดยมีวัตถุจำเป็นในชีวิตประจำวัน เวลา และพื้นที่คอยแสดงสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมซึ่งเป็นการผลิตซ้ำทางพิธีกรรมเพื่อสื่อสาร และทำหน้าที่ผ่านกิจกรรมทางสังคมผูกพันกับเวลา ประสบการณ์ชีวิต และพื้นที่ในพิธีกรรมมาอย่างยาวนานซึ่งเป็นความสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ในการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อชาวคริสตังไทยเชื้อสายเวียดนามในฤดูกาลเสกสุสาน ประเพณีที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาตาม “วงจรศักดิ์สิทธิ์” ของชุมชนหนองแสง
References
กรมอนามัย กระทรวงสาะรณสุข. (2563). คู่มือการจัดพิธีทางศาสนาและการจัดกิจกรรมทางประเพณีในสถานการณ์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). กรุงเทพฯ: ทีเอส อินเตอร์ปริ้นท์จำกัด.
คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อพิธีกรรม สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย. (2561). พิธีกรรมเพื่อผู้ล่วงลับ. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อพิธีกรรม สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย.
จักรพงษ์ มะลิวัลย์. (2541). พิธีกรรมเสกสุสานของชาวโรมันคาทอลิก ชุมชนบุ่งกะเทว อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จิราพร เหล่าเจริญวงศ์. (2564). พื้นที่ศึกษาในมานุษยวิทยา: มโนทัศน์ และวิธีวิทยา. ใน ยุกติ มุกดาวิจิตร และ ชัชชล อัจนากิตติ (บรรณาธิการ), มานุษยวิทยาพ้นมนุษย์ (หน้า 185–225). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. 2546. วาทกรรมการพัฒนา: อำนาจ ความรู้ ความจริง เอกลักษณ์ และความเป็นอื่น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิภาษา.
ฐานิดา บุญวรรณโณ. (2562). ความสำคัญของ Serendipity (โชคดีที่บังเอิญค้นพบ). วารสารมานุษยวิทยา, 2(2), 6-48.
ดำรงพล อินจันทร์. (2560). มรณะ มรตฺ และมานุษยวิทยาว่าด้วยความตาย. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2566,จาก https://www.academia.edu/34346186/มรณะ_มรตฺ_มานุษยวิทยาว่าด้วยความตาย
ภานรินทร์ น้ำเพชร. (2566). สะท้อนความตายผ่านมานุษยวิทยา. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2566, จากhttps://www.sac.or.th/portal/th/article/detail/452
ทุติยาภณ์ ภูมิดอนมิ่ง. (2562) ค่าตัวโรค โด๊ส และดีเอ็นเอ: การจัดการโรคพยาธิด้วยระบบเวชกรรมในสังคมอีสาน. วารสารธรรมศาสตร์, 38(3), 30-147.
ทุติยาภรณ์ ภูมิดอนมิ่ง. (2566) อาหารสามัญ: วัฒนธรรมอาหาร และการกินของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามอําเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย. วารสารสหวิทยาการธรรมศาสตร์, 20(2), 61-79.
นิติ ภวัครพันธุ์. (2558). ชวนถก ชาติและชาติพันธุ์. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.
นงนุช อุเทศพรรัตติ์นกุล. (2544). วัฒนธรรมการบริโภคอาหารของชาวเวียดนามในเขตเทศบาลเมืองนครพนม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2557). บทความปริทรรศน์: กระบวนทัศน์การศึกษาชาติพันธุ์สัมพันธ์. Journal of Mekong Societies, 10(3), 219-242.
ผุสดี (ลิมพะสุต) จันทวิมล. (2541). เวียดนามในเมืองไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พรมมา พิทักษ์. (2537). นัยแห่งสัญลักษณ์. กรุงเทพฯ: ต้นธรรม.
พรรณราย โอสถาภิรัตน์. (2564) “แนววิถีเชิงวัตถุ : จากวัตถุวัฒนธรรมศึกษาสู่วัตถุสภาวะ”. ใน มานุษยวิทยาพ้นมนุษย์, ยุกติ มุกดาวิจิตร ชัชชล อัจนากิตติ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, มีนาคม, หน้า 163-198.
พัฒนา กิติอาษา. 2557. สู่วิถีอีสานใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิภาษา.
พิชญาพร พีรพันธุ์, และพิทักษ์ ศิริวงศ์. (2563). การวิเคราะห์วาทกรรม: การดำรงอัตลักษณ์คริสตชนของกลุ่มคาทอลิกบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 38(1), 67–82.
เมธี พิริยการนนท์, และนพดล ตั้งสกุล. (2564). ปริทัศน์บทความ: เรื่องพื้นที่สาธารณะ พื้นที่ทางวัฒนธรรม และพื้นที่สาธารณะทางวัฒนธรรม. วารสารหน้าจั่ว, 18(1), 133–158.
รินรดา พันธ์น้อย. (2552). การดำรงอยู่และการปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของประชาชนในสังคมพหุวัฒนธรรม กรณีศึกษา: ชุมชนบุ่งกะแทว ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
รุ่งนภา พราหมณ์วงศ์. (2544). การธำรงชาติพันธุ์ของชุมชนชาวจีนคาทอลิกผ่านพิธีศพ: กรณีศึกษาชุมชนคาทอลิกบ้านบางนกแขวก ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ศุภมณฑา สุภานันท์. (2554). พื้นที่ เวลา อัตลักษณ์ และการสร้างความหมายทางสังคม. วารสารนิเทศศาสตร์, 29(3), 186–204.
สาคร ผ่องแผ้ว. (2554). ปัจจัยที่ทำให้คนไทยเชื้อสายเวียดนามมีบทบาททางการเมืองในเขตเทศบาลตำบลบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย [วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อคิน รพีพัฒน์. (2551). วัฒนธรรมคือความหมาย ทฤษฎีและวิธีของคลิฟฟอร์ด เกียร์ซ. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์มหาชน).
อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. 2546. อัตลักษณ์: การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด Identity. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการการสภาแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
Abarca, M.E., & Colby, J. R. (2016). Food memories seasoning the narratives of our lives. Food And Foodway, 24(1-2), 1-8.
Jaszczolt, K. M. ( (2012). Space and Time in Languages and Cultures Language, Culture, and Cognition. Amsterdam: EngJohn Benjamins Publishing Company.
Kern, S. (1983). The culture of time and space, 1880-1919 with a new preface. USA: Havard University Press.
Lefebvre, H. (1971). Everyday Life in the Modern World. Rabinovitch, S., Trans., London: Allen Lane.
Mauss, M. (2004). The Ethics of Memory. Cambridge, Havard University Press.
Sutton, E.D. (2001). Remembrance of Repasts: An Anthropology of Food and Memory.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
This article has been published in the Journal of Humanities and Social Sciences at Prince of Songkla University, Pattani Campus.