อิทธิพลของการจัดการความรู้ ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมป้องกัน ความเสี่ยงโรคโควิค - 19 ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น กาญจนบุรี

Main Article Content

สุมาลี ชาแสน
สุทธิรัตน์ พิมพ์พงศ์
ลาวัณย์ ผลสมภพ
อารีย์วรรณ เที่ยวรอบ
เอื้ออารีย์ สาริกา

บทคัดย่อ

     การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1.เปรียบเทียบพฤติกรรมป้องกัน ความเสี่ยงโรคโควิค - 19 ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น กาญจนบุรี และ 2.เพื่อศึกษา อิทธิพลของการจัดการความรู้ ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมป้องกัน ความเสี่ยงโรคโควิค - 19 ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น กาญจนบุรี เก็บข้อมูลจาก นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1-4 ปีการศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น วิทยาเขตกาญจนบุรี จำนวน 251 คน และนิสิตคณะสัตวแพทย์ศาสตร์ ชั้นปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น วิทยาเขตกาญจนบุรี จำนวน 50 คน
     ผลการวิจัยพบว่า
     1) การเปรียบเทียบพฤติกรรมป้องกัน ความเสี่ยงโรคโควิค - 19 ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น กาญจนบุรี พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตในทุกด้าน โดยด้านที่มีความแตกต่างกันระหว่างก่อนและหลังศึกษาพฤติกรรมป้องกัน ความเสี่ยงโรคโควิค – 19 ในสามลำดับแรกได้แก่ การเว้นระยะห่างประมาณ 1- 2 เมตรเมื่อมีการพูดคุยกับบุคคลอื่น การไม่รับประทานอาหาร สุกๆ ดิบๆ และ การสวมหน้ากากอนามัยขณะออกจากบ้าน ตามลำดับ
     2) อิทธิพลของการจัดการความรู้ ที่ส่งผลต่อป้องกันและควบคุมโรคโควิค - 19 ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น กาญจนบุรี ประกอบไปด้วย การใช้ความรู้ (b=0.40) และ การพัฒนาความรู้ใหม่
(b=0.23) โดยปัจจัยที่ยังส่งผลแต่ยังไม่มีนัยสำคัญพอที่สรุปจะประกอบไปด้วย การจัดหาความรู้ การแบ่งปันความรู้ และการจัดเก็บความรู้ สมการมีอำนาจการพยากรณ์ร้อยละ 56.30 และสามารถเขียนสมการได้ดังนี้
     Ytot =0.31+011X1+0.23X2**+0.14X3+0.40X4**+0.05X5


1-5 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น วิทยาเขตกาญจนบุรี

Article Details

How to Cite
ชาแสน . ส. ., พิมพ์พงศ์ ส., ผลสมภพ ล., เที่ยวรอบ อ., & สาริกา เ. (2024). อิทธิพลของการจัดการความรู้ ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมป้องกัน ความเสี่ยงโรคโควิค - 19 ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น กาญจนบุรี. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, 11(1), 1–16. https://doi.org/10.14456/jmsnpru.2024.1
บท
บทความวิจัย

References

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2563ก). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: Coronavirus Disease 2019 (COVID-19). นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2563ข). แนวทางการทำความสะอาดฆ่าเชื้อในสถานที่ที่ไม่ใช่สถานพยาบาล โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 [อินเทอร์เน็ต). นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข

ชัชวาลย์ วงษ์ประเสริฐ. (2548). การจัดการความรู้ในองค์การธุรกิจ. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ต.

ทิพย์รัตน์ อติวัฒนชัย. (2550).การจัดการความรู้ในวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการมหาวิทยาลัยขอนแก่น. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.

บุญดี บุญญากิจ นงลักษณ์ ประสพสุขโชคชัย ดิสพงศ์ พรชนกนาถ และ ปรียวรรณ กรรณล้วน. (2549). การจัดการความรู้ จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จิรวัฒน์ เอ็กเพรส.

บัญชา เกิดมณี สุรชัย ธรรมทวีธิกุล ญานพินิจ วชิรสุรงค์ บดินทร์ชาติ สุขบท และ สมบัติ ฑีฆทรัพย์. (2563). แนวคิดและทิศทางการแก้ปัญหาโควิด-19. วารสารก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์, 20(1), 1-12.

ประกาย จิโรจน์กุล. (2556). แนวคิด ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพและการนำมาใช้. นนทบุรี : โครงการสวัสดิการ สถาบันพระบรมราชชนก.

ปัณณทัต ตันธนปัญญากร ทัศนพรรณ เวชศาสตร์ นลพรรณ ขันติกุลานนท์ และศศิวิมล จันทร์มาลี. (2565). ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างการรับรู้เกี่ยววัคซีนป้องกันโรคโควิค-19 ของนักศึกษาสายวิทยาศาสตร์สุขภาพที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงต่อสถานการณ์การระบาด. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลย

อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 17(2).73-87.

พรพรรณ ประจักษ์เนตร และ กิรติ คเชนทวา. (2565). การจัดการตนเองของบุคคลที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื่องรังในช่วงโควิด-19 และบทบาทของการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพแบบออนไลน์ การรับรู้ความสามารถตนเอง การสนับสนุนจากสังคม การรับรู้ความเสี่ยง และพฤติกรรมการค้นหาข้อมูลข่าวสาร. วารสาร

พัฒนบริหารศาสตร์. 62(2).1-35.

สมบัติ สุมาวลี. (2540). ประเทศไทยในทศวรรษหน้า: วิทัศน์นิด้า การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การเพื่อการพัฒนาประเทศไทยใน ทศวรรษหน้า. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 2. (2564). ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี ปีการศึกษา 2564 [ออนไลน์] ค้นเมื่อ 22 กรกฏาคม 2566 จาก https://www.kan2.go.th/wp-content/uploads/2022/05/ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี.pdf

สุรชัย โชคครรชิตไชย. (2563). การระบาดของไวรัสโคโรนา (โควิด-19) ในประเทศไทย. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 10(1).ฎ

อัญญาณี คล้ายสุบรรณ์. (2550). การจัดการความรู้ ฉบับปฐมบท. นครปฐม: เพชรเกษม.

Alavi, M. and Leidner, D. E. (2002). Knowledge management system: Issues, challenge and benefits. [Online]. Retrieved October 30, 2022 from http:// Delivery.acm.org/

1145/380000/374117/a1-alavi.pdf?key=374117&Key2=1864439621&coll=CUIDE&dl

=GUIDE&CFID=83146928&CFTOKEN=1645788.

Awad, E. M., and Ghaziri, H. M. (2004). Knowledge management. New Jersey: Pearson Education.

Bertels, R. (2004). Targeting Your Message is the Key to Successful Bank Marketing. Michigan Banker, 48 (1), 18-29.

Borghoff, U. M., & Pareschi, R. (1998). Information Technology for Knowledge Management. [Online]. Retrieved December 19, 2022 from: http://www.iicm.edus.

Debowski, S. (2006). Knowledge management. Singapore: Seng Lee Press Pte.

Dong, E., Du, H., & Gardner, L. (2020). An interactive web-based dashboard to track COVID-19 in real time. The Lancet Infectious Diseases, 20(5), 533–534.

Harkness, A., Behar-Zusman, V., & Safren, S. A. (2020). Understanding the impact of COVID 19 on Latino sexual minority men in a US HIV hot spot. AIDS and Behavior, 24(7), 2017–2023.

Huang, Y., & Zhao, N. (2020). Generalized Anxiety Disorder, Depressive Symptoms and Sleep Quality during COVID-19 Outbreak in China: A Web Based Cross-Sectional Survey. Psychiatry Research, 288. 112954.

Hussein, E., Daoud, S., Alrabaiah, H., & Badawi, R. (2020). Exploring Undergraduate Students’ Attitudes towards Emergency Online Learning during COVID-19: A Case from the UAE. Children and Youth Services Review, 119. 105699.

Malhotra, Y. (2003, September). Is Knowledge the Ultimate Competitive Advantage?. Business Management Asia. 16(2), 1-5.

McCalman, J., & Paton, A. R. (2000). Change Management: A Guide to Effective Implementation. London: Paul Chapman.

Probst, G., Raub, S and Romhardt, K. (2000). Knowledge Management in Higher Education. Bangkok: Office of the Secretariat, ASAHL_THAILAND.

Turban, E., & Aronson, J. E. (2001). Decision Support Systems and Intelligent Systems. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Zhong BL, Luo W, Li HM, Zhang QQ, Liu XG, Li WT, Li Y. (2020). Knowledge, attitudes, and practices towards COVID-19 among Chinese residents during the rapid rise period of the COVID-19 outbreak: a quick online cross-sectional survey. Int J Biol Sci, 16(10), 1745-52.