Factor Effecting to Select Food Delivery Service in Nakhon Ratchasima Province.
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research were 1) to study food delivery service model in Muang district, Nakhon Ratchasima Province 2) to evaluate factors influencing to decision of choosing a food delivery service in Mueang District, Nakhon Ratchasima Province. The sample group was 400 people were obtained by Convenience Sampling. The research tool was a questionnaire. Data analysis was applied from the Fuzzy Analytic Hierarchy Process (FAHP) technique to weigh the importance of criteria influencing the decision to select food delivery service in the study area.
The results showed 1. The food delivery service model in Mueang District, Nakhon Ratchasima Province has been a change from the original. Large restaurants lunched their own food delivery service. Nowadays, the food delivery service model has been expanding for more small restaurants because food delivery service provider becomes the intermediary between small restaurants and consumers. It found that Grab was the largest food delivery service provider with 67.7 percent, followed by Food Panda at 28.5 percent, and a small percentage of other service providers. This delivery service model has increased in popularity for food delivery.
2. However, this research found that the Price factor (0.150) is the most influential to select food delivery service, followed by the Product factor (0.146, Marketing promotion factor (0.144), Distribution Channel factors (0.142), Process factor (0.141), Physical environmental factors (0.140) and Personal factors (0.136), respectively. The influence factors can be used as a guideline for food delivery service providers and to be used as a guideline to develop services to meet customer needs.
Article history : Received 17 August 2021
Revised 25 October 2021
Accepted 27 October 2021
SIMILARITY INDEX = 2.32 %
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
The views and opinions of the article appearing in this journal are those of the author. It is not considered a view and responsibility of the editorial staff.
References
เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย. (2549). หลักการและการใช้สถิติการวิเคราะห์ตัวแปรหลายตัวสำหรับการวิจัย ทางการพยาบาล. (พิมพ์ครั้งที่ 3). สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์.
การเงินธนาคารประเทศไทย. (2563). ธุรกิจ Last-mile Delivery ปี ’63 โต 15-18% ท่ามกลางการแข่งขันที่เข้มข้น [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 11 สิงหาคม 2564 จาก https://www.moneyandbanking.co.th/article/news/kresearch-last-mile-delivery-1106/.
ฌัชชา แงะสัมฤทธิ์ และ ชนิดา ยาระณะ. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการบริการธุรกิจจัดส่งอาหารในยุคโควิด-19. โครงการนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2564. คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร (100-113).
ณัฐศาสตร์ ปัญญานะ และ วัชรพจน์ ทรัพย์สงวนบุญ. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการอาหารตามสั่งแบบจัดส่ง. วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 11(1), 53-66.
ธนาศักดิ์ ข่ายกระโทก สิริมา บูรณ์กุศล อรุณ หงส์ทอง และ ศรัณย์ ตันวัฒนะพงษ์. (2563). กระบวนการตัดสินใจใช้บริการธุรกิจจัดส่งอาหารในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (263-274).
ธัญยรัตน์ ติยอภิสิทธิ์ และ อรรถพล สมุทคุปติ์. (2559). ตัวแบบในการคัดเลือกผู้ให้บริการการบำรุงรักษายานพาหนะโดยอาศัยเทคนิคฟัซซี เอเอชพี. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 24 (3), 127-141.
พิมพุมผกา บุญธนาพีรัชต์. (2560). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ Food Delivery ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วีระพงษ์ ภู่สว่าง. (2560). ความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดของร้านอาหารและเครื่องดื่มชุมชนตรอกวังหลัง กรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2549). การวิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ: Diamond in Business World.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2563). Covid-19 โอกาสและความท้าทายการพัฒนาธุรกิจ Last-mile Delivery [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 7 สิงหาคม 2564 จาก https://kasikornresearch.com/th/analysis/k-social-media/Pages/Last-mile-FB230420.aspx.
สำนักงานเศรษฐกิจอุสาหกรรม. (2560). ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 7 สิงหาคม 2564 จาก http://fic.nfi.or.th/about.php.
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2563). การใช้บริการ Online Food Delivery ของคนไทย [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2564 จาก https://www.etda.or.th/th/https/www-etda-or-th/th/newsevents/pr-news/Online-Food-Delivery-Survey-2020.aspx.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2562). รายงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
สิริธร วิรัชพันธุ์ และ ปราโมทย์ ลือนาม. (2563). การเลือกบริการเทคโนโลยีกดเงินแบบไม่ใช้บัตรของธนาคารไทยพาณิชย์ที่เหมาะสมด้วยกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี. วารสารสถิติประยุกต์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, 5(1), 25-36.
หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา. (2563). ผลสำรวจ Food Delivery กับผลกระทบต่อเมืองโคราช. นครราชสีมา: หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา.
อดิศักดิ์ ธีรานุพัฒนา บุญสิตา กิติศรีวรพจน์ และ วราพร บุณจอม. (2559). การคัดเลือกผู้ให้บริการโลจิสติกส์โดยใช้กระบวนการตัดสินใจแบบวิเคราะห์ลำดับชั้นและทฤษฎีฟัซซีเซท. วารสารบริหารธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 39(152), 1-29.
อาสาฬหะ จันทน์คร และ ปราโมทย์ ลือนาม. (2558). การคัดเลือกเครือข่ายสังคมเพื่อการสื่อสารภายในองค์กรโดยใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 13(1), 82-92.
Brand inside. (2563). โควิดเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภค อาหารสำเร็จรูปขายดี นิยมสั่งเดลิเวอรี่เพิ่มขึ้นกว่า 38% [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2563 จาก https://brandinside.asia/customer-behavior-covid-19/.
Buckley, J. J. (1985). Fuzzy Hierarchical Analysis. Fuzzy Sets and Systems, 17, 233-247.
Yamane.T. (1973). Statistics: an introductory analysis. New York: New York: Harper. & Row.