ภาษาวรรณศิลป์ในพระราชพงศาวดารฉบับความพิสดาร

Main Article Content

อรรถวิทย์ รอดเจริญ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาษาวรรณศิลป์ในพระราชพงศาวดารฉบับความพิสดารซึ่งเป็นเอกสารทางประวัติศาสตร์ของไทย เก็บข้อมูลจากพระราชพงศาวดารฉบับความพิสดารยุคจารีตจำนวน    7 ฉบับซึ่งชำระตั้งแต่กรุงธนบุรีถึงกรุงรัตนโกสินทร์ สมัยรัชกาลที่ 4 โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพและนำเสนอผลการศึกษาแบบพรรณนาวิเคราะห์


 ผลการวิจัยพบว่าผู้ชำระพระราชพงศาวดารฉบับความพิสดารใช้ภาษาวรรณศิลป์ 5 วิธี ได้แก่ การเล่นเสียงสัมผัส การใช้วงศัพท์กวี การปรุงศัพท์ในภาษากวี การใช้โวหาร และการใช้บทสนทนา เพื่อยกย่อง      พระบรมเดชานุภาพและพระบุญญาธิการของพระมหากษัตริย์ ความยิ่งใหญ่ของกองทัพ ความอลังการของพระราชพิธีด้วยการใช้ถ้อยคำภาษากวีที่ไพเราะ ใช้การเปรียบเทียบเพื่อให้เห็นภาพชัดเจน และใช้บทสนทนาเพื่อแสดงอารมณ์และอุปนิสัยของบุคคลในประวัติศาสตร์ แสดงถึงความประณีตและความสามารถด้านการประพันธ์ ซึ่งเป็นหลักฐานช่วยยืนยันว่าพระราชพงศาวดารฉบับความพิสดารยุคจารีตมีลักษณะเป็นวรรณกรรมยอพระเกียรติอีกประเภทหนึ่ง

Article Details

How to Cite
รอดเจริญ อ. (2022). ภาษาวรรณศิลป์ในพระราชพงศาวดารฉบับความพิสดาร. มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 23(3), 58–77. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/262778
บท
บทความวิจัย

References

คำยวง วราสิทธิชัย, หม่อมหลวง. (2546). ขนบในบทสงคราม. วรรณวิทัศน์, 3 พฤศจิกายน , 107-133.

ธงชัย วินิจกุล. (2544). การศึกษาประวัติศาสตร์แบบ postmodern. ใน กาญจนี ละอองศรี และธเนศ

อาภรณ์สุวรรณ (บก.). ลืมโคตรเหง้าก็เผาแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : มติชน.

ธานีรัตน์ จัตุทะศรี. (2558). ใผได้ ดมดอกเอื้อง ดวงด้วโสกกอหาย : วรรณศิลป์และความสำคัญของบท

พรรณนาธรรมชาติในเรื่องอินเหนาฉบับลาว. วารสารมนุษยศาสตร์, 22(1) , 20-51.

นาฏวิภา ชลิตานนท์. (2524). ประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และ

มนุษยศาสตร์.

นิตยา แก้วคัลณา. (2557). บทพรรณนาในกวีนิพนธ์ไทย : ลีลา ความคิด และการสืบสรรค์ (พิมพ์ครั้งที่ 2).

กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2555). ปากไก่และใบเรือ (พิมพ์ครั้งที่ 4). นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.

ประสิทธิ์ กาพย์กลอน. (2518). แนวทางการศึกษาวรรณคดี : ภาษากวี. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

พระยาอุปกิตศิลปสาร. (2538). หลักภาษาไทย (อักขรวิธี วจีวิภาค วากสัมพันธ์ ฉันทลักษณ์). กรุงเทพฯ:

ไทยวัฒนาพานิช.

พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม). ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3.

(2542). กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.

พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) (พิมพ์ครั้งที่ 2). (2533). กรุงเทพฯ :

องค์การค้าของคุรุสภา.

พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม). ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก

เล่ม 3. (2542). กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.

พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหมอบรัดเล (พิมพ์ครั้งที่ 2). (2549). กรุงเทพฯ: โฆษิต.

พระราชพงศาวดารกรุงสยามจากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับ

กาญจนาภิเษก เล่ม 2. (2542). กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.

พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา (พิมพ์ครั้งที่ 11). (2511). กรุงเทพฯ : อนุสรณ์ในงานบรรจุศพ

คุณพ่อไต้ล้ง พรประภา ณ สุสานศรีราชา ชลบุรี วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2511.

พระราชพงศาวดารฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ตรวจสอบชำระจากต้นฉบับตัวเขียน. (2558).

กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนดิ์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

มหาเวสสันดรชาดกฉบับ ๑๓ กัณฑ์ (พิมพ์ครั้งที่ 14). (2509). กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. (2526). ความรู้ทั่วไปทางภาษาไทย (ภาควรรณคดีไทย) (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วิทย์ ศิวะศริยานนท์. (2544). วรรณคดีและวรรณคดีวิจารณ์ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : ธรรมชาติ.

ศานติ ภักดีคำ. (2562). ประวัติศาสตร์อยุธยาจากพระราชพงศาวดาร พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับ

ปลีกและฉบับความย่อ. กรุงเทพฯ: สมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์ฯ.

สมบัติ จันทรวงศ์. (2549). ข้อสังเกตเบื้องต้นว่าด้วยคำพูดในประวัติศาสตร์อยุธยา : ศึกษาเฉพาะกรณีบท

สนทนาในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา. ใน บทพิจารณ์ว่าด้วยวรรณกรรมการเมือง

และประวัติศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : คบไฟ.

สรณัฐ ไตลังคะ. (2560). ประวัติศาสตร์นิพนธ์กับโฉมหน้าบันเทิงคดีร้อยแก้วยุคแรกในสมัยรัตนโกสินทร์. ใน

ศาสตร์และศิลป์แห่งการเล่าเรื่อง (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา. (2548). เจิมจันทน์กังสดาล : ภาษาวรรณศิลป์ในวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ :

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรรถวิทย์ รอดเจริญ. (2564). พัฒนาการกลวิธีการเล่าเรื่อง กลวิธีทางภาษา และโลกทัศน์ในพระราช

พงศาวดาร. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.