การพัฒนาฐานข้อมูลคำภาษาบาลี
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลคำภาษาบาลี ในการพัฒนาฐานข้อมูลคำภาษาบาลีผู้วิจัยเลือกใช้การวิจัยในรูปแบบวิจัยและพัฒนา (Research and Develop) โดยในช่วงการวิจัยนั้นเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ และในขั้นตอนการพัฒนาเป็นการใช้วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) โดยเลือกใช้ Methodology แบบ Spiral Model ในการพัฒนาระบบ ซึ่งผลการพัฒนาระบบสามารถมีดังนี้ สืบค้น โดยสามารถสืบค้นได้จาก Keyword ในลักษณะ Full Text Search โดยระบบกำหนดให้สามารถสืบค้นได้จากทุก Filed หรือทุกขอบเขตข้อมูลในระบบ มี Tag cloud ซึ่งเป็นการนำคำค้น (keyword) แยกลำดับสถิติ จำนวนนับเพื่อนำมาจับกลุ่มกันและแสดงผลการค้นหาในวงเล็บท้ายคำค้น และสามารถค้นหาตามประเภทคำศัพท์ได้ ส่วนผู้ดูแลระบบสามารถกำหนดประเภทคำ คำ คำอธิบาย ความหมาย และความสัมพันธ์ได้
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ชัยยศ สันติวงษ์และนิตยา เจรียงประเสริฐ (ม.ป.ป.). การบริหารระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์. เชียงใหม่: ภาควิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลับเชียงใหม่.
ณัฐพร เดชชัย. (2548). การพัฒนาระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศอีสานบนอินเทอร์เน็ตโดยใช้ดับลินคอร์เมทาดาทา. (การศึกษาอิสระปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).
ประกายวรรณ ธรรมสังวาลย์. (2558). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. ค้นจาก https:// docslide.net/education/-2-55a3e9751a28ab4a268b45a5.html.
ภรณี ศิริโชติ. (ม.ป.ป.). กระบวนการในการจัดการสารสนเทศ. บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ-ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2(18), 1-4
มาลี ล้ำสกุล. (2545). ประมวลสาระชุดวิชาการจัดเก็บและการสืบค้นสารสนเทศ. นนทบุรี: สาขา ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.
รุจเรขา วิทยาวุฑฒิกุล. (2553). การจัดการสารสนเทศ. ค้นจาก http:// stang.sc. mahidol.ac.th/wiki/doku.php?id.
สมชาย วรัญญานุไกร. (2545). เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
สมพร พุทธาพิทักษ์ผล. (2545). การค้นคืนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ในระบบ World Wide Web: ข้อคิดและบทบาทของบรรณารักษ์และนักวิชาชีพสารสนเทศ. บรรณารักษศาสตร์. 18(2), 13-25.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2542). คู่มือนักวิจัยมือใหม่ พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: วงค์สว่างการพิมพ์.
Davenport, Thomas H. (2000) “Putting the I in IT.” In Donald A. Marchand, Thomas H. Davenport and Tim Dickson (Eds.), Mastering Information Management. London: Prentice Hall, 5-9
Earl, Michael J. (2000) “Every business is an information business.” In Donald A. Marchand, Thomas H. Davenport and Tim Dickson (Eds.), Mastering Information Management. London: Prentice Hall, 16-22.
Intira Limwiwattana. (2553). ความหมายของการวิจัย. ค้นจาก http:// intiraedtech53.blogspot.com/2010/06/blog-post_27.html
Robertson, J. (2005). 10 Principles of effective information management. Retrieved from http://www.steptwo.com.au/papers/kmc_effectiveim/ index.html