แนวคิดการจัดการศึกษาอิสลามเพื่อสร้าง สำนึกการเป็นมุสลิมในสังคมพหุวัฒนธรรม: ถอดบทเรียนจากพหุวัฒนธรรมนิยมในสังคม ออสเตรเลีย

Main Article Content

ซัมซู สาอุ

บทคัดย่อ

ทักษะการใช้ชีวิตท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรมเป็น สมรรถนะหนึ่งของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 บทความนี้นำเสนอการถอด บทเรียนจากการเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนทางวิชาการเรื่องการสร้างพลเมือง ประชาธิปไตยและสังคมพหุวัฒนธรรมของประเทศออสเตรเลีย โดยผู้วิจัย นำแนวคิดดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการจัดการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ และใช้การวิจัยเชิงคุณภาพในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษา พบว่า ประเทศออสเตรเลียได้ให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนรู้แก่พลเมืองเพื่ออยู่ร่วมกันของผู้คนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ผ่านกลไกทางการศึกษา ในทุกระดับ ทั้งการเรียนรู้แนวคิด วิถีชีวิต และแนวปฏิบัติ ผลจากการเรียนรู้ ดังกล่าว ผู้วิจัยนำมาออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ KOALA เพื่อเป็น โมเดลสำหรับการพัฒนาสมรรถนะเชิงทางวัฒนธรรมสำหรับเยาวชนในจังหวัด ชายแดนภาคใต้

Article Details

How to Cite
สาอุ ซ. (2017). แนวคิดการจัดการศึกษาอิสลามเพื่อสร้าง สำนึกการเป็นมุสลิมในสังคมพหุวัฒนธรรม: ถอดบทเรียนจากพหุวัฒนธรรมนิยมในสังคม ออสเตรเลีย. วารสารสิทธิและสันติศึกษา, 3(2), 159–193. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/HRPS/article/view/164172
บท
บทความวิจัย

References

จิรภรณ์ มั่นเศรษฐวิทย์ สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี และ
นำชัย ศุภฤกษ์ชัยสกุล. (2556). รูปแบบการจัดประสบการณ์เรียนรู้
SANTISUK เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะพึงประสงค์ของการอยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุขที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 19(1), 37-55.

ซัมซู สาอุ. (2556). แนวโน้มการจัดการอิสลามศึกษาในระดับอุดมศึกษา: แนวคิด
และรูปแบบสำหรับประเทศไทย. บทความนำเสนอในการประชุม
วิชาการระดับชาติเครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ครั้งที่ 2 “รวมพลัง
สร้างสรรค์งานวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นและประเทศไทย” วันที่ 19
สิงหาคม 2556 ณ อาคารคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ยะลา.

ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ. (2556). มโนทัศน์การศึกษาในอิสลาม. พิมพ์ครั้งที่ 2.
ปัตตานี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา.

ญาดา ช่วยชำแนก และกองบรรณาธิการปาตานีฟอรั่ม. (24 พฤษภาคม 2559).
เกาะกระแส Islamophobia โรคหวาดกลัวอิสลามในสังคมไทย
เราจะอยู่ร่วมกันอย่างไร? : บันทึกจากการเสวนา. สืบค้นวันที่ 1 มิถุนายน
2557 จาก http://www.pataniforum.com/single.php?id=588

แพร ศิริศักดิ์ดำเกิง. (2552). ทักษะทางวัฒนธรรม. สายพิณ ศุพุทธมงคล
(บรรณาธิการ). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

สุชาติ เศรษฐมาลินี. (2559). จินตนาการอิสลามเชิงสังคมวิทยา. ปัตตานี:
ปัตตานีฟอรั่ม.

ศิริจิต สุนันต๊ะ. (2556). สถานะการโต้แย้งเรื่องพหุวัฒนธรรมในประเทศไทย.
วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 32 (1),5-30.

วิจักขณ์ พานิช. (2555). กลืนวัฒนธรรมด้วยการศึกษา. สืบค้นวันที่ 1 มิถุนายน
2557 จากwww.openbase.in.th/files/assimilationined[1].pdf

อัสรา รัฐการัณย์. (13 กันยายน 2560). ข้อเสนอสร้างสังคมพหุวัฒนธรรม
จากเวทีสาธารณะ. สืบค้นวันที่ 13 กันยายน 2560 จาก https://
www.facebook.com/asra.rat?hc_ref=ARS3vZ_LIlJT_J_
iXb7E4N5UyhrDf-JW2C5_A7tVz2G-D19lN0y5ezPuLowL-S3p--8

อรรถพล อนันตวรสกุล. (2559). “พลเมืองหลากอัตลักษณ์ : ตัวตน ความ
เป็นพลเมืองและการอยู่ร่วมกันในสังคมหลากหลายวัฒนธรรม” ใน
เมื่อครูไทยเรียนรู้การสอนประชาธิปไตยในออสเตรเลีย. กรุงเทพฯ:
ศูนย์ประสานงานเครือข่ายการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองประชาธิปไตย
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อิสมาแอลลุตฟี จะปะกียา. (2560). อุมมะฮฺวาหิดะฮฺ. ปัตตานี : สถาบันอัสสลาม.

Abdalla, Amr et al. (2006). Improving the Quality of Islamic
Education in Developing Countries: Innovative Approaches.
Washington, DC : Creative Associates International, Inc.

Aston, Heath. (2015). Australian Muslim Party aims to contest
federal and state elections. Retrieved 1 June 2017 from
http://www.smh.com.au/federal-politics/political-news/
australian-muslim-party-aims-to-contest-federal-and-state-
elections-20151116-gl0app.html

Bianco, J. Lo . (2016). A. Bal (eds.), Learning from Difference: Com-
parative Accounts of Multicultural Education, Multilingual
Education 16, pp.15-33. DOI 10.1007/978-3-319-26880-4_2

Hutchison, Geoff & Papas, Chloe. (2015). Yassmin Abdel-Magied:
Engineer, social activist and Formula One obsessive. Retrieved
1 June 2017 from http://www.abc.net.au/news/2015-03-25/
who-are-you -yassmin-abdel-magied/6347566

James, Peter. (2014). Education and Identity: Multicultural
Education in Australia, Education, Language and Cultural
Maintenance in Australia. Retrieved 1 June 2017 from
https://www.dss.gov.au/our-responsibilities/settlement-and-
multicultural-affairs/programs-policy/a-multicultural-australia
/programs-and-publications/1995-global-cultural-diversity-
conference-proceedings-sydney/culture-education-and-
language/education-and-identity-multicultural

Kalantzis, Mary. (1989). The experience of multicultural education
in Australia six case studies, Centre for Multicultural Studies,
University of Wollongong, Occasional Paper 20, 1989, 47.
Retrieved 1 June 2017 from http://ro.uow.edu.au/cmsoc-
papers/16

Kimmorley, Sarah. (2014). 15 famous Australians you may not have
known were Muslim. Retrieved 1 June 2017 from https://
www.businessinsider.com.au/15-famous-australians-you-may-
not-have-known-were-muslim-2014

Phillips, Janet. (2007). Muslim Australians. Retrieved 1 June 2017
from http://www.aph.gov.au/About_Parliament/Parliamentam
ry_Departments/Parliamentary_Library/Publications_Archive/
archive/MuslimAustralians

Selk, Avi. (2017). An Australian senator wore a burqa in Parliament
— then called for a ban on Muslim immigrants. Retrieved 20
August 2017 from https://www.washingtonpost.com/news/
worldviews/wp/2017/08/17/an-australian-senator-wore-
a-burqa-in-parliament-then-called-for-a-ban-on-muslim-
immigrants/?utm_term=.54538a710dff

Soutphommasane, Tim. (2016). The success of Australia’s multicultur-
alism. Retrieved 1 June 2017 from https://www.humanrights.
gov.au/news/speeches/success-australia-s-multiculturalism

Tolj, Brianne. (2017). Muslim population in Australia soars to 600,000
as religion becomes the nation’s second-biggest - a 77%
jump in the past DECADE, according to Census. Retrieved
1 August 2017 fromhttp://www.dailymail.co.uk/news/arti-
cle-4641728/Number-Muslims-Australia-soars-Census-2016.
html#ixzz5324bOEWQ

Wahlquist, Calla. (2017). Map of massacres of Indigenous people re-
veals untold history of Australia, painted in blood. Retrieved 1
June 2017 from https://www.theguardian.com/australia-news
/2017/jul/05/map-of-massacres-of-indigenous-people-reveal-
untold-history-of-australia-painted-in-blood.

Wendt, Jana. (2017). Faith in politics: Australia’s first Muslim MP.
Retrieved 1 June 2017 from http://www.sbs.com.au/topics/
life/feature/faith-politics-australias-first-muslim-mp

West, Andrew. (2016). Anne Aly: The campaign to be federal
parliament's first female Muslim MP. Retrieved 1 June
2017 from http://www.abc.net.au/radionational/programs/
religionandethicsreport/anne-aly-campaign-to-be-australian-
parliaments-female-muslim-mp/7573550

Zehner, Edwin R. (2017). Muslim, education and mobility in Thailand’s
Upper South: why they are important. Journal of education
and social sciences, 7(1), 43-51.

Adeyemi, K. (2016) The Trend of Arabic and Islamic Education in
Nigeria: Progress and Prospects.Open Journal of Modern
Linguistics,6, 197-201. doi:10.4236/ojml.2016.63020.