ประสบการณ์เก็บข้อมูลภาคสนาม ในพื้นที่ความรุนแรงถึงตาย

Main Article Content

พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์

บทคัดย่อ

การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม (Fieldwork) ถือเป็นหัวใจสำคัญของงานศึกษาวิจัยมานุษยวิทยา (Anthropology) เพื่อทำความเข้าใจเรื่องราวเกี่ยวกับวิถีชีวิตประจำวัน วิถีวัฒนธรรมความเป็นอยู่ของผู้คนในพื้นที่ต่างๆด้วยการเข้าไปสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม หรือฝังตัวอยู่ในชุมชนแต่ในสถานการณ์ที่ไม่ปกติ เช่น ในสนามที่มีความขัดแย้งรุนแรงถึงตาย (deadly
conflict) วิธีการแบบเดิมๆ ในการเก็บข้อมูลภาคสนามอาจมีข้อจำกัดหลายประการ บทความนี้จะนำเสนอประสบการณ์ และชีวิตแห่งการต่อรอง (negotiatedlife) ของนักวิจัยในระหว่างการทำงานภาคสนาม โดยเฉพาะสนามที่อันตราย(dangerous fieldwork) ต้องเสี่ยงภัยร้ายแรงชนิดที่ถึงตาย (deadly violence) เช่น ในชายแดนใต้ของไทยหลังปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา เพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้สนใจทำงานภาคสนามในพื้นที่เสี่ยงอันตรายได้นำไปประยุกต์ใช้ต่อไป

Article Details

How to Cite
นาคอุไรรัตน์ พ. (2015). ประสบการณ์เก็บข้อมูลภาคสนาม ในพื้นที่ความรุนแรงถึงตาย. วารสารสิทธิและสันติศึกษา, 1(2), 117–134. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/HRPS/article/view/163814
บท
บทความวิชาการ

References

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. (2551). ความรุนแรงกับการจัดการ “ความจริง”: ปัตตานี
ในรอบกึ่งศตวรรษ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์. (2556). “คนกลุ่มน้อยนิด” และ “ชีวิตแห่งการต่อรอง”:
กรณีศึกษาคาทอลิกในปัตตานี. กรุงเทพฯ: ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎี
บัณฑิต สาขาสหวิทยาการ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์.

ยศ สันตสมบัติ. (2559). มนุษย์กับวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Green (1995). Living in a State of Fear. In Nordstrom, C., and Robben,
A. C.G.M., Fieldwork Under Fire: Contemporary studies of
Violence and Survival pp.105-128.

Nordstrom, C. and Robben, A. C.G.M. (Eds.) (1995). Fieldwork under
fire: Contemporary Studies of Violence and Survival, Berkeley,
Los Angeles, London: University of California Press.