เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกของประเทศไทย: รายงานความคืบหน้าของการพัฒนา
คำสำคัญ:
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกบทคัดย่อ
บทความนี้ มีวัตถุประสงค์ในการประเมินผลนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยใช้ตัวแบบ CIPP Model ของ Daniel L. Stufflebeam เป็นแนวทางในการประเมิน เพื่อแสวงหาข้อมูลประกอบการตัดสินใจในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการบริหารนโยบายสาธารณะ (Public Policy Process) เพื่อให้มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจในประเด็น ๑) การจัดทำรายละเอียดของนโยบายฯ ๒) ความพอเพียงของทรัพยากรที่ต้องใช้ในการขับเคลื่อนนโยบายฯ ๓) ปัญหา และอุปสรรคระหว่างการนำนโยบายฯไปสู่การปฏิบัติ และ ๔) การประเมินผลสัมฤทธิ์ของนโยบายฯ โดยได้แบ่งหัวข้อการประเมินออกเป็น ๑) การประเมินบริบท (Context Evaluation) ๒) การประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) ๓) การประเมินกระบวนการนำนโยบายฯไปสู่การปฏิบัติ (Process Evaluation) และ ๔) การประเมินผลผลิตของนโยบายฯ (Product Evaluation)
References
Eastern Economic Corridor. (B.E.2563). Raingan Prachumpee 2563.
_______________________. (B.E.2564). Raingan Prachumpee 2564.
_______________________. (B.E.2565). Raingan Prachumpee 2565.
_______________________. (B.E.2565). EEC: Kwa Pai Dua Kan…Kab Khan Troeb To Tee Dee Nai Tuk Miti.
Eastern Special Development Zone Act 2018. (B.E.2561). Royal Gazette No. 135 Vol. 34 Kor.
National Strategy Preparation Act 2017. (B.E.2560). Royal Gazette No. 134 Vol. 79 Kor.
Office of the National Economic and Social Development Council. (B.E.2566). Raingan Sarub Pon Khan Dum Noen Ngang Tam Yuttasat Chat B.E.2565.
Prakad Rueng Yuttasat Chat (B.E.2561-2580). (B.E.2561). Royal Gazette No. 135 Vol. 82.
Stufflebeam, D. L., & Shinkfield, A. J. (2007). Evaluation Theory, Models, and Applications. San Francisco: John Wiley & Sons, Inc.
Stufflebeam, D. L., & Zhang, G. (2017). The CIPP Evaluation Model: How to Evaluate for Improvement and Accountability. New York: The Guilford Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.