ภาวะโภชนาการและปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคอาหารของผู้ป่วยระยะสุดท้าย ที่มารับบริการคลินิกดูแลและบรรเทาอาการ
Abstract
Nutritional Status and Associated Factors of Food Consumption among Patients in Palliative Care Clinic
การศึกษาภาวะโภชนาการและปัจจัยท่มีีผลต่อการบริโภคอาหารของผู้ป่วยท่มีารับบริการคลินิกดูแลและ บรรเทาอาการน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินภาวะโภชนาการเบ้ืองต้นและ ศึกษาหาปัจจัยท่มีีผลต่อภาวะโภชนาการ และการบริโภคอาหารของผู้ป่ วย กลุ่มตวัอย่างคอืผู้ป่วยท้งัชายและหญิงท่มีารับบริการตรวจรักษาท่แีผนกผู้ป่วยนอก คลินิกดูแลและบรรเทาอาการจ านวน103 รายตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2559 เคร่ืองมือท่ใีช้ในการวิจัยได้แก่ แบบฟอร์มซักประวัติท่วัไป แบบประเมิน Subjective global assessment (SGA) ร่วมด้วยประวัติการรับประทานอาหารใน24 ชั่วโมง การค านวณหาระดับของ body mass index (BMI) และ ท า แบบบนั ทกึการเปล่ียนแปลงอาการของผู้ป่วยจาก Edmonton Symptom Assessment System (ESAS) วิเคราะห์ด้วย สถิติส าหรับข้อมูลเชิงปริมาณ ความสัมพันธ์ระหว่างตวัแปรเชิงกลุ่ม และการเปรียบเทยีบค่าเฉล่ียของการศึกษาภาวะ โภชนาการกับปัจจัยต่างๆผลการศึกษาพบว่า จ านวนผู้ป่ วย 103 ราย ข้อมูลทั่วไปจ านวนเพศชายและหญิงร้อยละ 50.5 และร้อยละ49.5 ตามล าดับ อายุเฉล่ีย 51-60ปีร้อยละ 30.1 สถานะภาพคู่ร้อยละ66 สิทธ์ิการรักษา ข้าราชการร้อยละ 48.5 อาชีพแม่บ้านหรือว่างงานร้อยละ23 ระดับการศึกษาประถมร้อยละ36.9 ข้อมูลการเจ็บป่ วย ตา แหน่งร่างกายท่ปี่วยเป็นมะเรง็ปอดร้อยละ 32 กระเพาะอาหารลา ไส้และทวารหนักจา นวนร้อยละ15.5 มะเรง็ตับ ร้อยละ6.8 ข้อมูลด้านโภชนาการ ผู้ป่ วยมีน ้าหนักอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 38.8 น ้าหนักน้อยกว่าเกณฑ์ มาตรฐานร้อยละ 31.1 การซักประวัตทิางโภชนาการ พลังงานอาหารโดยเฉล่ียท่ผีู้ป่วยได้รับในกลุ่มภาวะโภชนาการ ปกติเส่ียงต่อภาวะทุพโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการมีค่า968.27 990.88 และ737.44 กิโลแคลอร่ี ตามลา ดับ โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในภาวะเส่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ ( ี SGA B) ร้อยละ 48 ส าหรับกลุ่ม ผู้ป่วยท่มี ภีาวะทุพโภชนาการมกีารบริโภคอาหารและปริมาณไขมันท่นี้อยกว่าผู้ป่วยท่ไีม่มีภาวะทุพโภชนาการอย่างมี นัยส าคัญทางสถิติ (P≤0.05) ตลอดจนรวมถึงปัจจัยข้อจ ากัดในการเคลื่อนไหว ท้องบวม ขาบวมหรือภาวะเบื่อ อาหาร มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ
Downloads
Published
Issue
Section
License
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (JPR2R) ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล