วิเคราะห์ต้นทุนและประสิทธิผลในการให้บริการห้องประชุมของสถาบันทางการศึกษา กรณีศึกษาของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

Authors

  • สมปรารถนา นามขาน General Administration Section, Institute for Population and Social Research

Abstract

การให้บริการห้องประชุมแก่บุคคลภายนอกของสถานศึกษา เป็ นการบริหารสินทรัพย์ให้เกิดประโยชน์ คุ้มค่าและสร้างรายได้ ควบคู่ไปกับการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ ซึ่งจ าเป็นต้องด าเนินการควบคู่ไปกับ การควบคุมต้นทุนและรายรับให้อยู่ในภาวะสมดุล และไม่ก่อให้เกิดภาระทางการเงิน ดังนั้น การศึกษานี้จึงมี เป้ าหมายในการวิเคราะห์ต้นทุนและประสิทธิผลในการให้บริการห้องประชุมของสถาบันการศึกษา กรณีศึกษาของ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อน าไปสู่แนวทางการบริหารสินทรัพย์ และการพัฒนาการ ให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยทฤษฎีการวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผล (Cost-effectiveness Analysis: CEA) และข้อมูลปฐมภูมิด้านค่าใช้จ่าย และการด าเนินการให้บริการห้องประชุมรายวันในรอบปี พ.ศ.2557 ผล การศึกษาพบว่า ต้นทุนผันแปรเพิ่มขึ้นตามขนาดของห้องประชุม โดยห้องประชุมขนาดใหญ่มีภาระรายจ่ายค่า สาธารณปู โภค นา ้และไฟฟ้า สงูกว่าห้องประชุมขนาดเลก็ ค่าเส่อืมครุภัณฑเ์ป็นต้นทุนทางตรงท่ถีือเป็นภาระรายจ่าย ท่สีา คญั ท่สีดุ ของสถาบนัวิจัยประชากรและสงัคม ตามด้วยค่าเส่อืมอาคาร อย่างไรกต็าม เม่ือพิจารณาต้นทุนค่าเสีย โอกาสของบุคลากรพบว่า ต้นทุนแท้จริงท่สีถาบันวิจัยประชากรและสงัคม ต้องแบกรับสงูข้ึนประมาณ 1.8-4.2 เท่า ของต้นทุนทางตรง ผลการเปรียบเทียบอัตราค่าบ ารุงและต้นทุนในภาพรวมพบว่า สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ด าเนินการให้บริการอยู่บนจุดคุ้มทุน มีอัตราก าไรใกล้เคียงกับศูนย์ในภาพรวม ซึ่งการลดค่าใช้จ่ายส่วนครุภัณฑ์ ควบคู่ไปกบั การจัดสรรการใช้บุคลากรท่เีก่ยีวข้องอย่างมีประสทิธภิาพจะช่วยให้หน่วยงานลดภาระค่าใช้จ่ายในส่วน ต้นทุนได้อย่างชัดเจน

Downloads

Published

2016-08-22