ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ ของนิสิตครูวิชาเอกชีววิทยา
DOI:
https://doi.org/10.14456/jli.2016.7คำสำคัญ:
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์, การสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์, นิสิตครู, วิทยาศาสตร์, Nature of Science, Scientific Inquiry, Pre-service Science Teachersบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจของนิสิตครูวิชาเอกชีววิทยา จำนวน 30 คน เกี่ยวกับธรรมชาติของการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความและจัดกลุ่มคำตอบแบบอุปนัย ผลการวิจัยแสดงว่า นิสิตส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจธรรมชาติของการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์บางลักษณะ (เช่น ความหลากหลายของการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ ความจำเป็นของคำถามในการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ และความแตกต่างระหว่าง ข้อมูลและหลักฐาน) อย่างไรก็ดี นิสิตส่วนใหญ่เข้าใจธรรมชาติของการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์บางลักษณะ (เช่น ความเป็นอัตวิสัยที่แฝงอยู่ในการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ และการใช้หลักฐานและความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์) การวิจัยนี้ให้ข้อเสนอแนะในการส่งเสริมให้นิสิตเข้าใจธรรมชาติของการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนการสอนโดยการสืบเสาะทาง วิทยาศาสตร์ในระหว่างการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
References
จุฬารัตน์ เลี้ยงไกรลาศ และ นฤมล ยุตาคม. (2553). กรณีศึกษา: การรับรู้เกี่ยวกับ การจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะและการปฏิบัติการสอนของครูชีววิทยา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 29(4),23 - 37.
ธิติยา บงกชเพชร และ วรรณทิพา รอดแรงค้า. (2553). ความรู้/ความเชื่อเกี่ยวกับ การสอนดาราศาสตร์ที่เน้นกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ของครูวิทยาศาสตร์ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 29(3), 85 - 97.
พงศ์ประพันธ์ พงษโสภณ. (2552). สอนวิทยาศาสตร์อย่างที่วิทยาศาสตร์เปีน. วารสารวิทยาศาสตร์, 63(1), 84 - 89.
ลฎาภา สูทธถูล, นฤมล ยุตาคม, และ บุญเกื้อ วัชรเสถียร. (2554). กรณีศึกษา ความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาสาสตร์และการปฏิบัติการสอนของครูระดับประถมศึกษา. วิทยาสารเกษตรศาสตร์ (สาขาสังคมศาสตร์), 32(3), 458 - 469.
ลือซา ลดาซาติ. (2558). การวิจัยเชิงคุณภาพสำหรับครูวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ลือซา ลดาซาติ และ ลฎาภา สุทธกูล. (2555). การสำรวจและพัฒนาความเข้าใจ ธรรมซาติของวิทยาศาสตร์ของนักเรียนซั้นมัธยมศึกษาปีที, 4. วารสาร มหาวิทยาลัยนราริวาสราชนครินทร์, 4(2), 73 - 90.
ลือชา ลดาชาติ, ลฎาภา สุทธกูล, และ ชาตรี ฝ่ายคำตา. (2556). ความแตกต่างที่สำคัญระหว่างการส่งเสริมการเรียนการสอน "ธรรมซาติของวิทยาศาสตร์" ภายนอกและภายในประเทศไทย. วิทยาสารเกษตรศาสตร์(สาขาสังคมศาสตร์), 34(2), 269 - 282.
สำนักวิซาการและมาตรฐานการศึกษา. 2553. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนPทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย จำกัด.
สุทธิดา จำรัส และ นฤมล ยุตาคม. (2551). ความเข้าใจและการสอนธรรมซาติของ วิทยาศาสตร์ในเรืองโครงสร้างอะตอมของครูผู้สอนวิชาเคมี. วิทยาสาร เกษตรศาสตร์ (สาขาสังคมศาสตร์), 29(3), 228 - 239.
สุทธิดา จำรัส, นฤมล ยุตาคม, และ พรทิพย์ ไชยโส. (2552). ความเข้าใจธรรมชาติ ของวิทยาศาสตร์ของนักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ขั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4. วารสารวิจัย มข., 14(4), 360 - 374.
Abd-El-Khalick, F. and Lederman, N. G. (2000). Improving Science Teachers’ Conceptions of Nature of Science: A Critical Review of the Literature. International Journal of Science Education, 22(7), 665 - 701.
Akerson, V. L., Abd-El-Khalick, F., and Lederman, N. G. (2000). Influence of a Reflective Explicit Activity-Based Approach on Elementary Teachers’ Conceptions of Nature of Science. Journal of Research in Science Teaching, 37(4), 295 - 317.
Bybee, R. W., Taylor, J. A., Gardner, A., Scotter, p. V., Powell, J. c., Westbrook, A., and Landes, N. (2006). The BSCS 5E Instructional Model: Origins, Effectiveness, and Applicotions. Retrieved from
https://bscs.org/sites/default/files/_legacy/BSCS_5E_lnstructional_ Model-Executive_Summary_0.pdf (4 April 2014)
Fives, H., Huebner, พ., Birnbaum, A. ร., and Nicolich, M. (2014). Developing a Measure of Scientific Literacy for Middle School Students. Science Education, 98(4), 549 - 580.
Gray, R. (2014). The Distinction between Experimental and Historical Sciences as a Grameworkfor Improving Classroom Inquiry. Science Education, 98(2), 327 - 341.
Hodson, D. (1998). Toward a Philosophically More Valid Science Curriculum. Science Education, 72(1), 19 - 40.
Khishfe, R., and Abd-El-Khalick, F. (2002). Influence of Explicit and Reflective Versus Implicit Inquiry-Oriented Instruction on Sixth Graders’ Views of Nature of Science. Journal of Research in Science Teaching, 39(7), 551 - 578.
Lederman, J. ร., Lederman, N. G., Bartos, ร. A., Bartels, ร. L., Meyer, A. A., and Schwartz, R. ร. (2014). Meaningful Assessment of Learners’ Understandings about Scientific Inquiry—The Views about Scientific Inquiry (VASI) Questionnaire. Journal of Research in Science Teaching, 51(1), 65 - 83.
National Research Council [NRC], 1996. The Notional Science Education Standards. Washington D.C.: National Academy Press.
Yuenyong, c. and Narjaikaew, p. (2009). Scientific Literacy and Thailand Science Education. Internotionol Journal of Environmental and Science Education, 4(3), 335 - 349.
Downloads
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนวัตกรรมการเรียนรุ้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อเพื่อกระทำการใดๆ จ้อต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ก่อนเท่านั้น