สิ่งที่ช่วยให้ก้าวผ่านการฆ่าตัวตาย:มุมมองจากผู้หญิงที่ก้าวผ่านการฆ่าตัวตาย

Main Article Content

ถิรวรินทร์ บุญญาพิพรรธน์
ชมพูนุท ศรีจันทร์นิล
ดลดาว วงศ์ธีระธรณ์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยเชิงคุณภาพนี้นำเสนอประสบการณ์ของผู้หญิงที่ก้าวผ่านการฆ่าตัวตาย ข้อมูลวิจัยได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้างจากผู้ให้ข้อมูลที่เป็นผู้หญิงที่ก้าวผ่านการฆ่าตัวตาย จำนวน 6 คน
และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ตามขั้นตอนของการวิเคราะห์เชิงปรากฏการณ์วิทยาแบบตีความ (IPA) บทความวิจัยนี้นำเสนอผลการวิจัยจากหนึ่งใจความสำคัญหลัก คือ สิ่งที่ช่วยให้ก้าวผ่านการฆ่าตัวตาย ซึ่งประกอบด้วย
3 ใจความสำคัญรอง ได้แก่ 1) การมีพื้นที่ปลอดภัยระบายความทุกข์ใจ 2) การตระหนักรู้ตัวกระตุ้นและจัดการอารมณ์ความรู้สึก 3) การสนับสนุนจากครอบครัวและสังคม งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงสิ่งที่ช่วยให้ก้าวผ่านการฆ่าตัวตายจากมุมมองของผู้ที่ก้าวผ่านการฆ่าตัวตาย พร้อมทั้งระบุข้อเสนอแนะสำหรับทั้งการปฏิบัติงานการปรึกษาเชิงจิตวิทยารวมถึงการวิจัยในอนาคต

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ขนิษฐา แสนใจรักษ์. (2552). ในชั่ววูบของการฆ่าตัวตาย: การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยาในผู้ที่ผ่านประสบการณ์การพยายามฆ่าตัวตาย (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชมพูนุท ศรีจันทร์นิล. (2560). การวิจัยเชิงคุณภาพทางการปรึกษา การกำกับและการประเมินคุณภาพงานวิจัยตามการวิจัยเชิงคุณภาพแบบ IPA. เอกสารประกอบการสอน วิชา 41575259. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

พระประเจน กรุตฺตโมและคณะ (2563) แนวคิดเรื่องสิทธิที่จะตายตามหลักพระพุทธศาสนา. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์,7(12), 363-375.

ศูนย์เฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์. (2565). ปัญหาการฆ่าตัวตายในคนไทย ปี 2565. สืบค้นเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2565, จาก https://suicide.dmh.go.th/news/files.pdf

Bostik, K. E., & Everall, R. D. (2007). Healing from suicide: Adolescent perceptions of attachment relationships. British Journal of Guidance & Counselling, 35(1), 79–96.

Brooks, J. R. et al. (2021).Depression and Suicide Ideation: The Role of Self-Acceptance for Black Young Adults. Journal of Black Psychology. DOI:10.1177/00957984211037440

Chi, M. T. et al. (2014). Healing and recovering after a suicide attempt: A grounded theory study. J Clin Nurs, 23(11-12), 1751-1759.

Domínguez-García, E. & Fernández-Berrocal, P. (2018). The Association Between Emotional Intelligence and Suicidal Behavior: A Systematic Review. Frontiers in psychology,9, 2380.

Everall, R. D., Altrows, K. J., & Paulson, B. L. (2006). Creating a Future: A Study of Resilience in Suicidal Female Adolescents. Journal of Counseling & Development, 84(4), 461–471.

Lakeman, R., & Gerald, M. F. (2008). How people live with or get over being suicidal: A review of qualitative studies. Journal of Advanced Nursing, 64(2), 114-126.

Selimbegović L, Chatard (2013) The mirror effect: self-awareness alone increases suicide thought accessibility. Consciousness and Cognition, 22, 756-764.

Sher L. (2023). Long COVID and the risk of suicide. General hospital psychiatry,80, 66–67.

Shoib S, Armiya'u AY, Nahidi M, Arif N, Saeed F. (2022) Suicide in Muslim world and way forward. Health Science Reports,8, 665-667.

Sun, F. K., & Long, A. (2013). A suicidal recovery theory to guide individuals on their healing and recovering process following a suicide attempt. Journal of advanced nursing, 69(10), 120-170.

Zaheer, J., Shera, W., Sing Hong Lam, J., Fung, W. L. A., Law, S., & Links, P. S. (2019). "I think I am worth it. I can give up committing suicide": Pathways to recovery for Chinese-Canadian women with a history of suicidal behaviour. Transcultural psychiatry,56, 305–326.