อสุภกรรมฐาน: เสพติดศัลยกรรมความงาม
Main Article Content
บทคัดย่อ
การทำศัลยกรรมความงาม เพื่อเอาชนะความแก่ แก้จุดบกพร่องมีให้เห็นกันมากขึ้น ลามไปถึงกลุ่มวัยรุ่นและเด็ก การเสพติดศัลยกรรมว่าเป็นภาวะทางสังคม อสุภกรรมฐานเป็นกรรมฐาน ที่ผู้ปฏิบัติพิจารณาซากศพที่มีลักษณะน่าเกลียดหลายอย่าง คือ ศพมีเลือดไหล พองขึ้น มีสีเขียวคล้ำ มีน้ำหนองไหลเยิ้ม ที่ฉีกขาด ถูกสัตว์กัดกิน ที่กระจัดกระจาย มีหนอนไต่ชอนไชและมีแต่ร่างกระดูก ซึ่งลักษณะเหล่านี้ล้วนเป็นสภาพน่าเบื่อหน่ายไม่ควรยึดมั่นว่าเป็นของตน พิจารณาให้เห็นว่ากายนี้เกิดจากสิ่งปฏิกูล น่าเกลียด น่าสะอิดสะเอียน กรรมฐานที่ยึดเอาซากศพเป็นอารมณ์เพื่อพิจารณาให้เห็นความไม่งาม ความไม่เที่ยงแท้ของสังขารกำจัดกามตัณหาและความลุ่มหลงในรูปกาย กรรมฐานนี้เหมาะสำหรับผู้มีจิตหนักไปด้านราคะ โดยเฉพาะผู้ที่มีการเสพติดศัลยกรรมความงาม เป็นอาการของโรคจิตเวชประเภทหนึ่ง มีการพัฒนาระดับความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ หากไม่ได้รับการบำบัด จะเกิดภาวะหมกมุ่นเกี่ยวกับรูปลักษณะของร่างกายบางส่วนที่เขารับรู้ได้ว่า
มีข้อบกพร่อง น่าเกลียด เชื่อมั่นว่ามีความผิดปกติและไม่เป็นที่น่าสนใจ หรือได้รับการเกลียดชัง เกิดความทุกข์ทรมานใจ ทำให้บุคคลอยากแก้ไขข้อบกพร่อง และทำพฤติกรรมซ้ำ ๆ ในจุดที่บกพร่องอย่างไม่รู้ตัว
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ถาวร จรูญสมิทธิ์. (2558). ทำศัลยกรรมพลาสติก. กรุงเทพฯ: ปีพลับลิชเชอร์.
พระครูปลัดประจาก สิริวณฺโณ. (2550). แนวทางการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน. เชียงใหม่: ดาราวรรณการพิมพ์.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2537). ไตรลักษณ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสนฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ: เอส.อาร์. พริ้นติ้งแมสโปรดักส์.
พระเยื้อง ปั้นเหน่งเพชร. (2557). สุนทรียศาสตร์. เชียงใหม่: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พ่วง มีนอก. (2559). สุนทรียศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
มัย ตะติยะ. (2562). สุนทรียภาพทางสายตา. กรุงเทพฯ: วาดศิลป์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2562). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคช.
ศรีเรือน แก้วกังวาน. (2564). ทฤษฎีจิตวิทยาบุคลิกภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.
สถิต วงศ์สวรรค์. (2564). ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: อักษรพิทยา.
สุพัตรา กอบกิจสุขสกุล. (2564). การประกวดนางสาวไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิกถ วงศางาม. (2520). ธรรมะหยิบมือเดียว. อุดรธานี: อักษรวัฒนา.
อังศินันท์ อินทรกำแหง. (2562). การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 self ด้วยหลัก Promise Model. กรุงเทพฯ: สุขุมวิท
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Anderson-Fye, E. (2021). Anthropological Perspective on Physical Appearance and Body Image. Cleveland. OH. USA: Case Western Reserve University.
Carey. R. Donaghue, N., & Broderick, P. (2011). What you look like is such a big factor: Girls own reflections about the appearance culture in an all - girls school. Feminism & Psychology, 21(3), 299-316.
Davis, K. (2020). Dubious Equalities and Embodied Differences: Cultural Studies on Cosmetic Surgery. Lanham, MD: Rowman and Littlefield.
Dion, K. Berscheid, E. & Walster, E. (2020). What is beautiful is good. Journal of Personality and Social Psychology, 24, 285 - 290.
Ghodsee, K. R. (2007).Potions, lotions and lipstick: The Gendered Consumption of Cosmetics and Perfumery in Socialist and Post-Socialist Urban Bulgaria. Women’s Studies International Forum, 30, 26-39.
Hewitt, P.L.; & Flett. G.L. (2020). Perfectionism in the self and social contexts: Conceptualization, assessment, and association with psychopathology [Electronic version]. International Journal of Eating Disorders, 18, 317-326.
Jone, G. (2020). Beauty Imagined: A History of the Global Beauty Industry. New York: Oxford University Press.
McRobbie, A.(1997). Bridging the Gap: Feminism Fashion and Consumption. United of Kingdom: Palgrave Macmillan.
Sarwer, D. B. & Crerand, C. E., (2020). Body image and cosmetic medical treatments [Electronic version]. Body Image, 1, 99-111.
Coomarawamy, R. (2002). Cultural Practices in the Family That Are Violent Toward Women. Report of the Special Rapporteur on Violence Against Women. Retrieved October 13, 2022, from http://www.refworld.org/docid/3d6ce3cc0.html