พลังแห่งการให้อภัย
Main Article Content
บทคัดย่อ
พลังแห่งการให้อภัย เป็นพลังที่ยิ่งใหญ่ที่ทำให้บุคคลเป็นสุขและสามารถเอาชนะตนเองได้จากความโกรธ ความอยุติธรรม ความทุกข์ทรมานที่เป็นอยู่ ก้าวเข้ามาสู่ความเป็นอิสระ หลุดพ้นจากเครื่องพันธนาการทั้งหลาย เป็นการอโหสิกรรมของผู้ถูกกระทำ ให้กับผู้ที่กระทำในขณะที่ยังมีชีวิต เมื่ออโหสิแล้ว เป็นการยุติสนิมในใจคือความพยาบาท อาฆาตให้หมดสิ้นไป ส่งผลให้เกิดความรู้สึกเบา โปร่ง โล่ง จิตใจเบิกบาน
ทุกศาสนามีความเห็นสอดคล้องกันในเรื่อง “การให้อภัย” และชื่นชมผู้ที่ให้อภัยกับเพื่อนมนุษย์ ที่ชื่นชมเพราะเป็นสิ่งที่ทำได้ยาก เป็นการยกระดับจิตเหนือปุถุชนคนทั่วไป นอกจากนั้นยังพบว่ามีงานวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศที่ให้ผลรองรับตรงกันว่า “พลังแห่งการให้อภัย” ส่งผลให้บุคคลเกิดความสุข
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
จณิสตา สิทธิ. (2564). ทำความรู้จัก "Oxytocin" ฮอร์โมนของความรัก. สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2565, จาก https://mgronline.com/goodhealth/detail/9640000026174
ธเนศ รัตนกุล .(2559). ลองมาเป็น “ผู้ให้อภัยที่ดี” ในมุมจิตวิทยา (แม้รถคุณจะโดนชนก็ตาม). สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2565, จาก https://thematter.co/science-tech/how-to-be-a-good-forgiver
พิมพ์ชนก มะโนทำ. (2563). การให้อภัยของผู้เสียหาย: กรณีศึกษาเยาวชนที่ได้รับบาดเจ็บสาหัสจากคดีอาญาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ภัชร สยามวาลา.(2562). สำเร็จทางโลกเพราะสุขทางธรรม. สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2565, จาก https://goodlifeupdate.com/healthy-mind/143488.html
เยเรมีย์. (2559). ทั้ง 3 ศาสนาสอนการให้อภัย. สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2565, จาก https://www.digitalup datebysura.com/content
ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 4 ธันวาคม 2554.กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
ลูกา. (2560). การให้อภัยคืออะไร คำตอบจากพระคัมภีร์. นิตยสารแม่พระยุคใหม่. ฉบับที่ 211.
อับดุลวาเฮด สุคนธา.(ม.ป.ป). การให้อภัยโทษในอิสลาม. สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม2565, จาก https://www.islammore.com/view/4974
Ajrin Sudirman, Fitriah M. Suud and Kana Safrina. (2019). Forgiveness and Happiness through resilience. Journal Psychologic Islam,10(2), 113-132 .
American Psychological Association.(2015). Forgiveness.Retrieved July 24, 2022, from https://www.apa.org
Charlotte et al. (2001).Granting Forgiveness or Harboring Grudges : Implications for Emotion, Physiology, and Health. Psychological Science, 12(2),117-23.
Maltby, J., Day, L. and Barber, L. (2005).Forgiveness, and Happiness the differing contexts of forgiveness using the distinction between hedonic and eudaimonic happiness. Journal of Happiness Studies, 6(1), 1-13.
Lazarus, R.S., & Folkman, S. (1984). Stress, appraisal, and coping. New York : Springer.