ความโกรธในทัศนะพุทธจิตวิทยา

Main Article Content

จำรัส พรหมบุตร

บทคัดย่อ

ความโกรธเกิดจากการไม่ได้อะไรตามที่ใจประสงค์ มักเกิดขึ้นเมื่อความคาดหวังความต้องการกับสภาพความเป็นจริงไม่ตรงกัน ซึ่งถูกเร่งเร้าให้เกิดขึ้น เมื่อสิ่งที่เรามุ่งหวังไปตามที่เราคาดหวังไว้ เป็นสภาพอารมณ์หนึ่งที่ติดตัวบุคคลมาตังแต่วัยทารก แต่การตอบสนองขอบุคคลที่มีต่อความโกรธนั้นเปลี่ยนแปลงไปตามพัฒนาการของแต่ละวัย จะส่งผลให้ผู้อื่นขุ่นเคืองและรู้สึกเกลียดชัง บางครั้งความโกรธสามารถสร้างผลทางบวกได้ หากบุคคลรู้จักวิธีแก้ปัญหา และแสดงอาการให้ออกมาในลักษณะของการสร้างสรรค์ สาเหตุส่วนใหญ่ที่ทำให้บุคคลเกิดความโกรธนั้น เกิดจากความคิดความเชื่อของตนเอง การกระทำที่ขาดความสุขุมรอบคอบ ขาดความระมัดระวัง ซึ่งส่งผลให้เกิดอันตรายต่อบุคคลทั้งร่างกายและจิตใจ ทำให้เกิดการเจ็บป่วยได้ง่าย อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อผู้อื่นด้วย

Article Details

How to Cite
พรหมบุตร จ. . (2022). ความโกรธในทัศนะพุทธจิตวิทยา. วารสารพุทธจิตวิทยา, 7(1), 38–45. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jbp/article/view/253359
บท
บทความวิชาการ

References

กนกรัตน์ สุขะตุงคะ (2536). ความโกรธ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.

เกษม ตันติผลาชีวะ (2530). โกรธ. กรุงเทพฯ: ใกล้หมอ.

จารุวรรณ ศุภศรี (2542). การเปรียบเทียบผลของการฝึกพฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสม และการฝึกผลลดความรู้สึกอ่อนไหวอย่างเป็นระบบเป็นรายบุคคลที่มีต่อพฤติกรรมการแสดงออกในการเผชิญความโกรธของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง จังหวัดตรัง (วิทยานิพนธ์การฝึกอบรมมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วินัย จันทร์เปล่ง (2536). จากจุดอ่อนสู่ความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: เอช เอ็น กรุ๊ป.

วิจิตร อาวะกุล (2526). เทคนิคมนุษยสัมพันธ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เจริญผล.

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ (2515). ธรรมานุกรมประมวลพระนิพนธ์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย.

สมเด็จพระพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (2552). ธรรมเพื่อความสวัสดีแห่งชีวิต. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ธรรมสภา.

สมพร อินทร์แก้ว (2536). จัดการกับความโกรธอย่างไรดี. กรุงเทพฯ: การท่าเรือ.

อัจฉรา สุขารมณ์ (2527). สุขภาพจิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

Glick, R.A. (1993). Rage Power and Aggression. London: Yale University Press.

Johnson, David W. (1993). Recaching Out : Interpersonal Effecyiveness and Self 3 Actualization. 5th ed. New York : Prentice-Hall.

Jakubowski (1978). Pateicia and Lange Arthur. The Assertive Option : Your Right and Responsibilities. Illinios: Prentice Hall.

Speilberger C.D. (1996), Manual for the state-trait anger expression inventory (STAXI). Florida: Psychological Assesment Resources.

Schuerger, J.M. (1979). Understanding and controlling Anger. in Helping Clients with Special Concerns, Edited by Eisenberg. S. and L.E. Patterson. Chicaco: Rand Mc. Nally College Publishing Company.

Tamaki Shelly. (1994). Adolescent Anger Control SSTA Research Center Report. (On Line).