แนวทางการให้คำปรึกษาตามทฤษฎีพฤติกรรมนิยม

Main Article Content

พสุ วุฒินันท์
นาฏนภางค์ โพธิ์ไพจิตร์

บทคัดย่อ

                การให้คำปรึกษาเป็นวิธีการในการพัฒนามนุษย์ให้สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับตนเองได้ ด้วยการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น และนำมาเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาที่เหมาะสม การให้คำปรึกษาจะเกิดประสิทธิภาพขึ้นได้ กระบวนการให้ความช่วยเหลือที่เกิดจากสัมพันธภาพของบุคคลอย่างน้อย 2 คน คือ ผู้ให้การปรึกษาและผู้รับการปรึกษา โดยผู้ให้การปรึกษาควรมีลักษณะส่วนบุคคลที่เอื้อต่อการปรึกษาเชิงจิตวิทยา มีความรู้และทักษะในการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้รับการปรึกษา ซึ่งเป็นผู้ที่กำลังประสบความยุ่งยากใจ หรือมีความทุกข์และต้องการความช่วยเหลือให้เข้าใจตนเอง เข้าใจสิ่งแวดล้อม มีทักษะในการตัดสินใจ และหาทางออกเพื่อลดหรือขจัดความทุกข์ ความยุ่งยากใจด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาตนเองไปสู่เป้าหมายที่ต้องการด้วยการสนทนา เพื่อช่วยให้ลดความวิตกกังวลลดความกลัวที่ไม่สมเหตุผล และช่วยให้บุคคลมีสุขภาพจิตและสุขภาพกายที่ดีขึ้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมสุขภาพจิต, กระทรวงสาธารณสุข. (2540). คู่มือการให้บริการปรึกษาทางโทรศัพท์. กรุงเทพมหานคร: มปส.

จีน แบร์รี. (2538). คู่มือการฝึกทักษะการให้คำปรึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมณี. (2548). ศาสตร์การสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: ด่านสุทธาการพิมพ์จำกัด.

สวัสดิ์ บรรเทิงสุข. (2542). การให้คำปรึกษา. เชียงใหม่: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

George, R. L. & Cristiani, T. S. (1995). Counseling: Theory and Practice. 4thed. Boston: Allyn and Bacon.

Hansen, James C., Rossberg, Robert H. Cramer, Stanley H., (1994). Counseling Theory and Process. 5th edition. Boston: Allyn and Bacon.

Scissons, E. H. (1993). Counseling for Results: Principles and Practices of Helping. California: Brooks/Cole.

Skinner, B. F. (1938). The Behavior of organisms: An experimental analysis. New York: Appleton-Century.

Thomson, C. L., Rudolph, L. B., & Henderson, D. (2004). Counseling Children. 6th ed. Belmont: Brooks/Cole.