การพัฒนาชีวิตตามแนวพุทธจิตวิทยาเพื่อเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเอง

Main Article Content

ทิพย์ธิดา ณ นคร

บทคัดย่อ

          การเห็นคุณค่าในตนเอง เป็นความรู้สึกที่บุคคลรับรู้ว่าตนเองมีคุณค่า นำไปสู่ความเชื่อมั่นในตนเอง และการยอมรับนับถือตนเอง ซึ่งเป็นผลจากการประเมินตนเองโดยภาพรวม ในด้านความสามารถและความสำเร็จของตนเองเป็นสำคัญพร้อมที่จะแสดงออกมาในรูปแบบของทัศนคติในแง่บวกที่มีต่อตนเองให้ผู้อื่นได้เห็น การพัฒนาตนเองตามหลักพุทธธรรมเพื่อการรู้จักตนเองและการเข้าใจตนเอง ทั้งในด้านความคิด ความรู้สึกและพฤติกรรม การเห็นคุณค่าในตนเองจะเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่ทุกคนควรจะมี แต่หากบุคคลไม่เห็นคุณค่าในตนเอง ไม่ยอมรับไม่เข้าใจในตนเองแล้ว บุคคลนั้นก็จะไม่มีความมั่นใจต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันของตน และก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตตามมาได้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2559). พุทธจิตวิทยากับสังคมและวัฒนธรรมไทย. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

จิราภรณ์ ตั้งกิตติภากรณ์. (2556). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์. (2546). เอตทัคคะในพระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์บริษัท สหธรรมิก จำกัด.

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช ราชบัณฑิต). (2551). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุดคำวัด. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภาและสถานบันลือธรรม.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2541). ธรรมกับการพัฒนาชีวิต. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมสภา.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2549). สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ. นครปฐม: วัดญาณเวศกวัน.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2550). ความจริงแห่งชีวิตและช่วยให้ตายเร็วหรือช่วยให้ตายดี. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พิมพ์สวย จำกัด.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2553). จะพัฒนาคนกันได้อย่างไร. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). ยิ่งก้าวถึงสุขยิ่งใกล้ถึงธรรม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สถาบันบันลือธรรม.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2556). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 24. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาของธรรมสภา.

พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ). (2554). การปฏิบัติตนให้เป็นคนดีตามแนวทาง 5 ดี. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สถาบันบันลือธรรม.

พระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารีมหาเถระ). (2539). พุทธประวัติทัศนศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิหอไตรการพิมพ์.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

รศ.ดร. สุรพล พะยอมแย้ม. (2548). จิตวิทยาสัมพันธภาพ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท บางกอกคอมเทค อินเตอร์เทรด จำกัด.

ลักขณา สริวัฒน์. (2546). จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์.

ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2539). ทฤษฎีจิตวิทยาบุคลิกภาพ (รู้เรา รู้เขา). พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.

สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2562). ทฤษฏีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.