ความสัมพันธ์ของความเข้มแข็งในการมองโลก

Main Article Content

ชยพล มั่นจิต

บทคัดย่อ

           ความเข้มแข็งในการมองโลกพัฒนาขึ้นจากประสบการณ์ชีวิตในบริบทของสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละคน โดยเริ่มพัฒนาตั้งแต่วัยเด็ก เพิ่มและชัดเจนขึ้นในวัยรุ่น จนกระทั่งค่อนข้าง คงที่ในวัยผู้ใหญ่ตอนต้นช่วงอายุประมาณ 30 ปี หลังจากนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงได้บ้างตลอดชีวิต บทบาทสำคัญของความเข้มแข็งในการมองโลกนั้น ช่วยให้บุคคลสามารถเผชิญกับปัญหาหรือภาวะเครียดที่เกิดขึ้นในชีวิตมองเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตด้วยความเข้าใจ มีเหตุผล  มีความหมาย สามารถทำนายและคาดการณ์เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นได้ หรือสามารถจัดการกับเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความเครียดที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จรินทร รัตนวาณิชกุล. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งในการมองโลกกับพฤติกรรม สุขภาพในผู้ป่วยวัณโรค (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยคริสเตียน.

จันทิมา ภูวประภาชาติ. (2549).“ความเข้มแข็งในการมองโลกของผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายที่มารับบริการโรงพยาบาลสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย. (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

รัชนี นามจันทรา และคณะ. (2543). ความเข้มแข็งในการมองโลก: การวิเคราะห์แนวคิดทางทฤษฎีและทบทวนการวิจัย. วารสารวิจัยทางการพยาบาล, 4, (3), 296–312.

Sullivan, G.C., (1989). Evaluating Antonovsky’s Salutogenic Model for Its Adaptability to Nursing. Journal of Advanced Nursing, 14, 336–342.

Sullivan, G.C., (1993).Toward clarification of convergent concept: sense of coherence, will to meaning, locus of control, learned helplessness and hardiness. Journal of Advanced Nursing, 18(11), 1772-1778.