ลักษณะของบุคคลที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์

Main Article Content

โมลี สุทฺธิโมลิโพธิ

บทคัดย่อ

          บุคคลที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์จะมีลักษณะพิเศษ คือ มีความรับผิดชอบต่อตนเองสูง  และความพยายามทำงานให้สำเร็จ มีความท้าทายและกล้าเสี่ยง เลือกทำสิ่งที่ยากพอเหมาะกับความต้องการของตนเอง มีความกระตือรือร้น ขยันขันแข็งในการกระทำสิ่งแปลกใหม่ ชอบที่จะทำงานท่ามกลางปัญหามากกว่าหนีแล้ววิ่งไปหาโอกาส มีแผนการระยะยาว บวกกับมีทักษะในการจัดระบบงาน และจะติดตามผลการกระทำของตนเอง เมื่อทราบแล้วยังพยายามทำให้ดีขึ้นไปกว่าเดิมอีก โดยไม่มุ่งหวังผลตอบแทนหรือรางวัล

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เติมศักดิ์ คทวานิช. (2546). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ยงยุทธ เกษสาคร. (2546). ภาวะผู้นำและการจูงใจ. กรุงเทพมหานคร: เอสเคบุ๊คเน็ต.

ศุภร เสรีรัตน์. (2540). พฤติกรรมผู้บริโภค. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ดอกหญ้า.

สุนิดา ศิริพากย์. (2553). การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามทฤษฎีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของแมคเคลแลนด์และการเสริมสร้างอัตมโนทัศน์ตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิส เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษาการศึกษานอกระบบ กลุ่มด้อยสัมฤทธิ์ที่เรียนด้วยวิธีเรียนทางไกล (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุเนตร์ หัสขันธ์. (2544). ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานกับความสำเร็จในการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

McClelland, D. C., Atkinson, J. W., Clark, R. A. and Lowell, E. L., (1953). The achievement Motive. New York: Appleton-Century-Crofts.

McClelland, D.C., (1985). Human motivation. Chicago: Scott, Foresman.