การจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการนำเสนอการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา การศึกษาเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ เด็กและเยาวชนคือปัจจัยที่สำคัญที่จะพัฒนาสังคมและประเทศ ถ้าเด็กและเยาวชนมีการศึกษาที่ดี ก็จะมีคุณภาพชีวิตที่ดี ส่งผลให้สังคมและประเทศพัฒนาไปในทางที่ดีได้ การจัดการศึกษาเชิงพื้นที่จึงถือเป็นส่วนหนึ่งของการกระจายองค์ความรู้ อำนาจการบริหารองค์การ และการบริหารจัดการทางการศึกษาลงไปสู่ประชาชนทุกคนได้อย่างทั่วถึง อันจะเป็นการลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ซึ่งส่งผลให้เกิดการพัฒนาประเทศที่มั่นคงและยั่งยืนต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์จะเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการสังคมมนุษย์
References
ไกรยส ภัทราวาท. (2566, 9 กุมภาพันธ์). กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น เครื่องมือจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อลดระดับความเหลื่อมล้ำที่มีประสิทธิภาพ. สืบค้นจาก https://www.eef.or.th/article-decentralized-to-local/
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.). (2565). การจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ. กรุงเทพฯ : บริษัท เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด
จุฬากรณ์ มาเสถียรวงศ์. (2560). โครงการประสานงานวิจัยและพัฒนาการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ (Area-based Education - ABE): รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
วุฒิสาร ตันไชย. (2565). หนุนท้องถิ่นช่วยแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา. สืบค้นจากhttps://www.eef.or.th/article-solve-the-problem-of-inequality-in-education-120222/
สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่ง การเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.). (2557). การลงทุนเพื่อการศึกษา เรื่องที่น่าทบทวน. สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.)
อมรวิชช์ นาครทรรพ. (2555). การจัดการศึกษาเชิงพื้นที่. สืบค้นจาก www.kknontat.com/wp-content/, 2555.