รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่ยั่งยืนโดยชุมชน

Main Article Content

พรฟ้า สุทธิคุณ
ประกอบ ใจมั่น

บทคัดย่อ

          บทความนี้นำเสนอเกี่ยวกับรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่ยั่งยืนโดยชุมชน ซึ่งเป็นการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน มีเป้าหมายอยู่ที่การอยู่ร่วมกันกับทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ภายใต้เงื่อนไขoโยบายการท่องเที่ยวของรัฐบาล ซึ่งในปัจจุบันพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวได้เปลี่ยนแปลงไป นักท่องเที่ยวต้องมีการส่วนร่วมกับกิจกรรมการท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับปัญหาด้านการจัดการทรัพยากรท่องเที่ยว จึงเกิดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ที่เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยว และชุมชนท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการจัดการท่องเที่ยวร่วมกัน เนื่องจากประเทศไทยมีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่สมบูรณ์จึงมีโอกาสที่จะพัฒนาเป็นการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ การจัดการท่องเที่ยวตามกรอบแนวคิดของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่ยั่งยืนโดยชุมชน พบว่า ประเทศไทยมีปัจจัยสนับสนุนหลายประการ ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่ยั่งยืนโดยชุมชนที่มีแบบแผนที่ชัดเจน ในการสร้างองค์ความรู้เพื่อการจัดการท่องเที่ยวแบบใหม่ ให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง สร้างรายได้ให้กับชุมชน นำไปสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนต่อไปในอนาคต

Article Details

How to Cite
[1]
สุทธิคุณ พ. และ ใจมั่น ป. ., “รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่ยั่งยืนโดยชุมชน”, ้่j of human, ปี 14, ฉบับที่ 1, น. 61–86, มิ.ย. 2024.
บท
บทความวิชาการและบทความวิจัย

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2566). ยุทธศาสตร์กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2566–2570), [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://mots.go.th/download /article/, [1 สิงหาคม 2564.]

เฉลิมพล ศรีทองและ ธีรพงษ์ เที่ยงสมพงษ์. (2564). แนวทางการพัฒนาศักยภาพการตลาดและโปรแกรมการท่องเที่ยวชุมชนเมืองเก่าสุโขทัยในฐานะเมืองสร้างสรรค์โลกภายใต้ฐานวิถีชีวิตใหม่ (New Normal). วารสารวิจัยราชภัฏเชียงใหม่. 22 (3) ; 174-188

ฐิติมา อังกุรวัชรพันธุ์. (2560). รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มคุณค่าการท่องเที่ยวบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัดอ่างทอง. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) 10(20) ; 29-42

ธนรัตน์ ทับทิมไทย. (2565). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://suphanburicampus. dusit.ac.th/report/230757.pdf [14 มกราคม 2565.]

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2542). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พจนา สวนศรี. (2540). เอกสารการสอนชุดวิชา หน่วยที่ 8-15 การจัดการนันทนาการและการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ. นนทบุรี :มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ฟองจันทร์ หลวงจันทร์ดวง และวราภรณ์ ปัญญาวดี. (2561). ศักยภาพชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน Electronic Journal of Open and Distance Innovative Learning (e-JODIL) 8 (2) ; 52-83

ภูริวัจน์ เดชอุ่ม. (2556). บทความการพัฒนาการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์ : กรอบแนวคิดสู่ แนวปฏิบัติสำหรับประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และ ศิลปะ. 33 (2) ; 331-366.

วรพงศ์ ผูกภู่, ฐิติ ฐิติจำเริญพร,วุฒิพงษ์ ฉั่วตระกูล, อิสรี แพทย์เจริญ, พินทุสร อ่อนเปี่ยม และ จิตรลดา ปิ่นทอง. (2564). รูปแบบการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรณีศึกษาพื้นที่ต้นแบบชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ. กรมส่งเสริมวัฒนธรรม

สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวภายในประเทศ (สทน.). (2567). การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.adt.or.th/page/sustainable-tourism/en [24 มิถุนายน 2567.]

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). รายงานภาวะเศรษฐกิจการท่องเที่ยว ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ สถานการณ์การท่องเที่ยวของประเทศไทย ไตรมาส 4/2562. 1 (3) ; 32-33

สินธุ์ สโรบล และคณะ. (2546). การท่องเที่ยวโดยชุมชน : แนวคิดและประสบการณ์พื้นที่ภาคเหนือ. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ และคณะ. (2556). ท่องเที่ยวสร้างสรรค์ : เครื่องมือสำคัญนำไปสู่ชุมชนยั่งยืน. กรุงเทพฯ.

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการพัฒนา การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์กรมหาชน). (2561). หัวใจของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.dasta.or.th/th/article /436 [14 มกราคม 2565.]

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. (2560). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : องค์การ.

Richards. (2010). Creative Tourism and Local Development. In Wurzburger, R, et al. Creative Tourism: A Global Conversation : How to Provide Unique Creative Experiences for Travelers Worldwide, Santa Fe : Sustone Press.

UNESCO. (2006). Toward Sustainable Strategies for creative tourism. Discussion Report of the Planning Meeting for 2008 International Conference on Creative Tourism. Santa Fe, New Mexico. U.S.A.

World Tourism Organization. (2016). Sustainable Tourism Development. UNWTO

Zeithaml, V. A. (1988). Consumer Perceptions of Price, Quality, and Value: A Means-End Model and Synthesis of Evidence. Journal of Marketing, 52(3), 2-22.