การเข้าถึงสื่อการเรียนรู้เพื่อประสิทธิผลในการจัดการเรียนรู้ออนไลน์
Main Article Content
บทคัดย่อ
สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือสำคัญในการถ่ายทอดและสร้างความเข้าใจองค์ความรู้เนื้อหาวิชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ (Online) การให้ความสำคัญกับสื่อการเรียนรู้ที่สามารถกระตุ้นความสนใจและสร้างความเข้าใจในบทเรียนเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมาก แต่ยังพบปัญหาการขาดการเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ ซึ่งก็เป็นอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ให้เกิดประสิทธิผล บทความนี้จึงมุ่งเสนอปัญหาการเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ โดยการศึกษาวิเคราะห์จากเอกสาร พบว่า สาเหตุของปัญหาการเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ คือ 1) บริบทสังคมและภาวะวิกฤต 2) การไม่ยอมรับและไม่ปรับตัว 3) ปัญหาทางการเงิน และ 4) ปัญหาเชิงนโยบาย ทั้งนี้ การจัดการปัญหาสามารถนำแนวคิดของ Kurt Lewin มาประยุกต์ใช้ได้ ซึ่งประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ได้แก่ การละลายพฤติกรรม การเปลี่ยนแปลง และการสร้างพฤติกรรมใหม่ ในส่วนสุดท้ายคือข้อเสนอแนะของผู้บริหารเพื่อการกำหนดแนวทางหรือนโยบายการสร้างการเปลี่ยนแปลงองค์กร ประกอบด้วย 1) นโยบายของผู้บริหาร 2) การสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ 3) การจัดการเรียนรู้ 4) การจัดอบรม และ 5) การสนับสนุน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์จะเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการสังคมมนุษย์
References
บรรณานุกรม
กรมประชาสัมพันธ์. (2564). กระทรวงศึกษาธิการ กำหนด 5 รูปแบบการเรียนการสอนรองรับการเปิดภาคเรียนให้เหมาะสมแต่ละภูมิภาคของประเทศ. ค้นเมื่อ มีนาคม 3, 2565, จาก https://www.prd.go.th/th/content/category/detail/id/9/iid/19133
กุลิสรา จิตรชญาวณิช. (2563). การจัดการเรียนรู้ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จิตติวิทย์ พิทักษ์, พงษ์พิทยา สัพโส และอิศรา ก้านจักร. (2562). สภาพปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนดนตรีของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11(1), 225–237.
ใจทิพย์ ณ สงขลา และศิริเดช สุชีวะ. (2564). การเปลี่ยนผ่านด้วยดิจิทัล: แพลตฟอร์มการเรียนรู้ดิจิทัลแห่งชาติ. วารสารการศึกษาและนวัตกรรมการเรียนรู้, 1(1), 1–13.
ชัยยนต์ เพาพาน. (2559). แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานการเป็นผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 12(1).
ณัฐวัชร จันทโรธรณ์ และพงษ์ศักดิ์ พัวพรพงษ์. (2563). ประสิทธิผลขององค์การ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ, 9(2), 1–9.
ทิศนา แขมมณี. (2563). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 24). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไทยรัฐออนไลน์. (2563). สรุปข้อดีข้อเสีย การ 'เรียนออนไลน์' ดีหรือไม่ อย่างไร. ค้นเมื่อ มีนาคม 4, 2565, จาก https://www.thairath.co.th/lifestyle/tech/1848004
ธงชัย ขุนาพรม และธีรภัทร์ ถิ่นแสนดี. (2564). ห้องเรียนออนไลน์สำหรับโรคอุบัติใหม่ในยุค New normal. วารสารวิชาการรัตนบุศย์, 3(3), 83–88.
ธานินทร์ อิทรวิเศษ, ธนวัฒน์ เจริญษา, และพิชญาภา ยวงสร้อย. (2564). ภาพสะท้อนการศึกษาไทยหลังภาวะโควิด 2019. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(4), 323–333.
ธีร์ ภวังคนันท์. (2564). การบริหารการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด–19 ในยุคฐานวิถีชีวิตใหม่. วารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์, 2(2), 25–32.
นัฏฐิกา สุนทรธนผล และวรภพ ประสานตี. (2564). การเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนปฏิบัติทางดนตรีสู่การจัดการเรียนการสอนออนไลน์จากผลกระทบวิกฤต โควิด–19. วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 5(2), 159–179.
เบญจวรรณ เรืองศรี และคณะ. (2564). การจัดการเรียนการสอนในยุค New Normal Covid–19 โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ On Site. วารสารวิชาการสังคมมนุษย์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 11(2), 29–45.
ยุทธนาวี เมืองซอง. (2555). สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนดนตรีช่วงชั้นที่ 1–2 สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารการวิจัยกาสะลองคำ, 6(2), 99–106.
ฤดีมน ศรีสุพรรณ. (2559). สังคมวิทยาการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วรปรัชญ์ หลวงโย และคณะ. (2564). กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 16(2), 59–72.
วรัชยา ศิริวัฒน์. (2554). การบริหารร่วมสมัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วิทยา วาโย และคณะ. (2563). การเรียนการสอนแบบออนไลน์ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัส COVID–19: แนวคิดและการประยุกต์ใช้จัดการเรียนการสอน. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 14(34), 285–298.
วิเชียร มันแหล่ และคณะ. (2564). ผลกระทบและการปรับตัวของประชาชนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด–19 จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(11), 327–240.
สมพร ปานดำ. (2563). พลิกวิกฤตสู่โอกาสของอาชีวศึกษาไทยบนความปกติใหม่. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(7), 1–13.
สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ และอรุณ ชาญชัยเชาว์วิวัฒน์. (2565). ปัญหาและความท้าทายในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์: การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ให้ประสบความสำเร็จ. วารสารวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา, 5(1).
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2554). เข้าถึง. ค้นเมื่อ มีนาคม 4, 2565, จาก https://dictionary.orst.go.th/
สิทธิศักดิ์ จินดาวงศ์ และคณะ. (2556). การศึกษาปัญหาการจัดการเรียนรู้ ระดับความต้องการพัฒนา การรับรู้และการเข้าถึงสื่อในรูปแบบต่าง ๆ ของการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศของครูแกนนำวิทยาศาสตร์. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 5(9), 141–153.
สุริยะ หาญพิชัย และฑัชวงษ์ จุลสวัสดิ์. (2564). ผลกระทบของประชาชนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด–19 สู่การปรับตัวสู่ชุมชนวิถีใหม่ในพื้นที่จังหวัดลพบุรี. Journal of Roi Kaensarn Academi, 6(9), 126–141.
สุวิมล มธุรส. (2564). การจัดการศึกษาในระบบออนไลน์ในยุค NEW NORMAL COVID–19. วารสารรัชต์ภาคย์, 15(40), 33–42.
Chaichumkhun, J. (2564). หัวไม่แล่น เรียนไม่ไหว ปัญหาที่นักเรียนกลับมาเผชิญ หลังเรียนออนไลน์อีกครั้งในช่วงวิกฤต. ค้นเมื่อ มีนาคม 3, 2565, จาก https://thematter.co/quick-bite/online-study-again/132190
Cummings, S., Bridgman, T., and Brown, K. G. (2016). Unfreezing change as three steps: Rethinking Kurt Lewin’s legacy for change management. Human Relations, 69(1), 33–60. https://doi.org/10.1177/0018726715577707
Egielewa, P. et al. (2022). COVID–19 and digitized education: Analysis of online learning in Nigerian higher education. E–learning and Digital Media, 19(1), 19–35.
Fatoni et al. (2020). University Students Online Learning System During Covid–19 Pandemic: Advantages, Constraints and Solutions. Systematic Reviews in Pharmacy, 11(7), 570–576.
Hamid, R., Sentryo, I. and Hasan, S. (2020). Online learning and its problems in the Covid–19 emergency period. Jurnal Prima Edukasia, 8(1), 85–94.
Johnson, V. (2021). Strengths And Weaknesses Of Online Learning. Retrieved March 4, 2022, from https://elearningindustry.com/strengths-and-weaknesses-of-online-learning
Rasmitadila et al. (2020). The Perception of Primary School Teachers of Online Learning during the COVID–19 Pandemic Period: A Case Study in Indonesia. Journal of Ethic and Cultural Studies, 7(2), 90–109.
Roşca, V. (2020). Implications of Lewin’s Field Theory on Social Change. Proceedings of the International Conference on Business Excellence, 14(1), 617–625. https://doi.org/10.2478/picbe-2020-0058
Samoylenko, N., Zharko, L. and Glotova, A. (2022). Designing Online Learning Environment: ICT Tools and Teaching Strategies. Athens Journal of Education, 9(1), 49–62.
Syauqi, K., Munadi, S. and Triyono, M. B. (2020). Students’ perception toward vocational education on online learning during the COVID–19 pandemic. International Journal of Evaluation and Research in Education (IJERE), 9(4), 881–886.