ยุทธศาสตร์การวางแผนในงานพัฒนาชุมชนของนักจัดการทางสังคมในโครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย กรณีศึกษา ตำบลท่างิ้ว อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
Main Article Content
บทคัดย่อ
ยุทธศาสตร์การวางแผนในงานพัฒนาชุมชนของนักจัดการทางสังคมในโครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย กรณีศึกษา ตำบลท่างิ้ว อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษายุทธศาสตร์การวางแผนในงานพัฒนาชุมชนของนักจัดการทางสังคมในโครงการ 1ตำบล 1 มหาวิทยาลัย กรณีศึกษา ตำบลท่างิ้ว อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีกิจกรรม ด้านกลยุทธ์ (strategy) อยู่ที่ 0.52 ในด้านโครงสร้าง (structure) อยู่ที่ 0.55 ด้านระบบ (System) อยู่ที่ 0.54 ด้านค่านิยมร่วมกัน (shared value) อยู่ที่ 0.55 ด้านรูปแบบ (style) อยู่ที่ 0.61 ด้านการจัดการบุคคลเข้าทำงาน (staff) อยู่ที่ 0.57 ด้านทักษะ (skill) อยู่ที่ 0.55 รวมทุกด้าน อยู่ที่ 0.56
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์จะเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการสังคมมนุษย์
References
กรมพัฒนาชุมชน. (2564). ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ประยุกต์ใช้กับ "โคกหนองนาโมเดล". กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาชุมชน. กระทรวงมหาดไทย.
กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน. (2564). โคกหนองนาโมเดล. กรุงเทพฯ: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ.
จามรี พระสุนิล. (2563). การพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ชุมชนมีสุขด้วยภูมิปัญญาของพระราชา ในพื้นที่ตำบลป่าตึงอำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2564).
วนิดา เสร็จกิจ. (2563). การพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืนในบริบทของการพัฒนาประเทศ. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน พ.ศ. 2563) Burapha Journal of Political Economy Vol. 8 No. 1 (2020).
วิวัฒน์ ศัลยคำธร (2564). โคก หนอง นา. เข้าถึงได้จากhttps://mgronline.com/specialscoop/detail/9640000006445.