การโหยหาอดีตกับการท่องเที่ยวชุมชน อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนแนวคิดเรื่องการโหยหาอดีต กับการท่องเที่ยวชุมชน ผ่านบริบทการท่องเที่ยว พื้นที่ อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรม มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปเชิงวิชาการ
ผลการศึกษาพบว่า อำเภอปากพนัง มีประวัติศาสตร์ ความเป็นมา เป็นเมืองท่าสำคัญ เส้นทางสัญจรหลักเมื่อครั้งอดีตคือทางเรือ ในการถ่ายทอดเรื่องราวในอดีตสู่ปัจจุบัน เส้นทางท่องเที่ยวทางเรือ สามารถรื้อฟื้น จำลองเหตุการณ์ ร่วมสร้างจิตนาการริมสองฝั่งแม่น้ำปากพนัง ผ่านปรากฏการณ์โหยหาอดีต ถือว่ามีความเหมาะสม ในการนำมาเป็นกลยุทธ์ทางการตลาด พัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน เพื่อสร้างอาชีพ ก่อให้เกิดรายได้ ส่งผลให้คุณภาพการดำเนินชีวิตของคนในชุมชนดีขึ้น
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์จะเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการสังคมมนุษย์
References
เกรียงไกร วัฒนาสวัสดิ์ (2555). ความจริงแท้ในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงโหยหาอดีต: กรณีศึกษาชุมชนตลาดสามชุกร้อยปี จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม). มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ.
ธนาภา ช่วยแก้ว และ สุดใจ จิโรจน์กุล. (2562) การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมริมแม่น้ำปากพนังเพื่อส่งเสริมการตลาดท่องเที่ยว อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 30(3), 80-97.
นรินทร์ สังข์รักษา สุภาภรณ์ พรหมฤาษี และ ธีรังกูรวรบำรุงกุล. (2559). รูปแบบและพฤติกรรมท่องเที่ยวที่ไร้ความรีบเร่งของนักท่องเที่ยวในภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการหอการค้า ไทย มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 36(2), 1-19.
สกาวรัตน์ บุญวรรโณ เก็ตถวา บุญปราการ และวันชัย ธรรมสัจการ. (2561). การโหยหาอดีตกับการกลายเป็นสินค้าในมิติการท่องเที่ยวของสังคมไทย. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 13(39), 1-14.
สุดถนอม ตันเจริญ. (2560). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ครั้งที่ 1 วันที่ 16 มิถุนายน 2560
สุรศักดิ์ แก้วอ่อน และคณะ. (2562) แผนงาน การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวิถีลุ่มน้าอย่างยั่งยืน ในอำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
David, F. (1979). Yearning for Yesterday : A Sociology of Nostalgia. New York: The Free Press,
Goulding, C. ( 2001). “Romancing the Past: Heritage Visiting and the Nostalgic Consumer.” Psychology and Marketing 18, 6565-592.
MacCannell, D. (1973). “Staged Authenticity: Arrangements of Social Space
in Tourist Settings.” The American Journal of Sociology,79(3), 589-603.