สวัสดิการชุมชนเพื่อชุมชน

Main Article Content

นิภารัตน์ นักตรีพงศ์

บทคัดย่อ

พื้นฐานแนวคิดในอดีตสวัสดิการของคนไทย คือการเกื้อกูล ช่วยเหลือดูแลกันซึ่งกันและกันทั้งในครอบครัวและชุมชน ไม่ว่าจะมีใครจะทุกข์ หรือยากอย่างใด จะดูแลกันเหมือนพี่เหมือนน้อง ไม่ทอดทิ้งกันไม่ว่าจะ ยากดีมีจนอย่างไร แต่เมื่อสังคมเปลี่ยนไป คนเปลี่ยนไป ชีวิตตัวใครตัวมัน ต่างคนต่างเอาตัวรอด แย่งชิงทุกอย่างที่ขวางหน้า บริโภคอย่างไม่ลืมหูลืมตา สังคมชุมชนแตกสลาย กระแสวัฒนธรรมเมืองไหลบ่าเหมือนกระแสน้ำที่ไหล เชี่ยวเข้าสู่ชุมชน ทำลายภูมิปัญญา วิถีชีวิตดั้งเดิม ให้หายไป วิถีเปลี่ยนไป คนเปลี่ยนไป ความเท่าเทียมของคนในสังคมก็แตกต่าง ช่องว่างของคนรวย คนจนยิ่ง นับวันห่างไกล การจัดระบบของสังคมก็แตกต่าง  จากปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ความไม่เท่าเทียมกันในสังคม จึงเกิดนักคิดมากมาย ที่ได้ลุกขึ้นมาพูดถึงความเสมอภาคในสังคม และแนวทางการจัดสวัสดิการเพื่อการดูแลกัน จึงถูกคิดขึ้นมา ว่าเมื่อคนเกิดขึ้นมาแล้วจะต้องมีคุณค่ามีชีวิตอยู่ร่วมกัน ในสังคมในโลกนี้อย่างมีศักดิ์ศรี รัฐจะต้องจัดให้เกิดการดูแลขึ้นไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง การจะจัดสวัสดิการได้อย่างทั่วถึง ระบบการเงินของรัฐต้องเข้มแข็ง รายได้จะมาจากไหนในการเลี้ยงดูประชาชน รัฐต้องคิด ฉะนั้นประเทศที่เรียกว่ารัฐสวัสดิการ ส่วนใหญ่จึงเป็นประเทศที่รัฐเข้าครวบคลุมกิจการใหญ่ๆ เป็นของรัฐ และจัดการกิจการนั้นๆให้เกิดผลกำไร เพื่องบประมาณจะมีดูแลประชาชนได้ แต่ก่อนที่รัฐจะดูแลได้อย่างทั่วถึง ประชาชนควรดูแลกันเองในชุมชนก่อน โดยดารเกื้อกูลกันจากการจัดสวัสดิการชุมชน

Article Details

How to Cite
[1]
นักตรีพงศ์ น., “สวัสดิการชุมชนเพื่อชุมชน”, ้่j of human, ปี 10, ฉบับที่ 2, น. 37–53, ก.พ. 2021.
บท
บทความวิชาการและบทความวิจัย

References

จันทนา เจริญวิริยะภาพ และคณะ. (2546). เครือข่ายกองทุนหมุนเวียนชาวบ้านสงขลารูปธรรมที่ใช้เงินเป็น
เครื่องมือสร้างสวัสดิการชุมชน. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน).
ชัยพร พิบูลศิริ. (2551). การศึกษาปจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จการจัดสวัสดิการสังคมของ
องค์กรชุมชน. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์.
ปัญญา เลิศไกร. (2550). แนวคิดและรูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชนที่ประสบความส้าเร็จ. ภาคนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ.
ณัฐพงศ์ ทองภักดี. (2557). สวัสดิการสังคมไทย: ความสมดุลและยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร:คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ธิดารัตน์ คีมกระโทก. (2551). กระบวนการขับเคลื่อนสวัสดิการชุมชน: กรณีศึกษาตำบล
สมานฉันท์ อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ระพีพรรณ คำหอม. (255). สวัสดิการสังคมกับสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วราวุฒิ โรมรันตพันธ์. (2535). ทฤษฏีการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมชาย ศรีสวัสดิ์. (2558). การศึกษารูปแบบการบริหารจัดการกองทุนสวัสดิการชุมชนออมวันละ 1 บาท:
กรณีศึกษา ตำบลเสม็ดใต อำเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา.ภาคนิพนธ์คณะศิลปศาสตร์สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
Dunham, C. B. (1985). Rational with repeated poles, algorithms for approximation. New York:Clarendon.
Gearey Adam. (2015). Welfare Community and Solidarity. Law Culture and the Humanities.
11, 3: (340-348).
Griggs, D. et al. (2013.) Policy : Sustainable Development Goals for People and Planet. Nature, 495 (305-307).








จันทนา เจริญวิริยะภาพ และคณะ. (2546). เครือข่ายกองทุนหมุนเวียนชาวบ้านสงขลารูปธรรมที่ใช้เงินเป็น
เครื่องมือสร้างสวัสดิการชุมชน. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน).
ชัยพร พิบูลศิริ. (2551). การศึกษาปจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จการจัดสวัสดิการสังคมของ
องค์กรชุมชน. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์.
ปัญญา เลิศไกร. (2550). แนวคิดและรูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชนที่ประสบความส้าเร็จ. ภาคนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ.
ณัฐพงศ์ ทองภักดี. (2557). สวัสดิการสังคมไทย: ความสมดุลและยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร:คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ธิดารัตน์ คีมกระโทก. (2551). กระบวนการขับเคลื่อนสวัสดิการชุมชน: กรณีศึกษาตำบล
สมานฉันท์ อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ระพีพรรณ คำหอม. (255). สวัสดิการสังคมกับสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วราวุฒิ โรมรันตพันธ์. (2535). ทฤษฏีการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมชาย ศรีสวัสดิ์. (2558). การศึกษารูปแบบการบริหารจัดการกองทุนสวัสดิการชุมชนออมวันละ 1 บาท:
กรณีศึกษา ตำบลเสม็ดใต อำเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา.ภาคนิพนธ์คณะศิลปศาสตร์สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
Dunham, C. B. (1985). Rational with repeated poles, algorithms for approximation. New York:Clarendon.
Gearey Adam. (2015). Welfare Community and Solidarity. Law Culture and the Humanities.
11, 3: (340-348).
Griggs, D. et al. (2013.) Policy : Sustainable Development Goals for People and Planet. Nature, 495 (305-307).




จันทนา เจริญวิริยะภาพ และคณะ. (2546). เครือข่ายกองทุนหมุนเวียนชาวบ้านสงขลารูปธรรมที่ใช้เงินเป็น
เครื่องมือสร้างสวัสดิการชุมชน. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน).
ชัยพร พิบูลศิริ. (2551). การศึกษาปจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จการจัดสวัสดิการสังคมของ
องค์กรชุมชน. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์.
ปัญญา เลิศไกร. (2550). แนวคิดและรูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชนที่ประสบความส้าเร็จ. ภาคนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ.
ณัฐพงศ์ ทองภักดี. (2557). สวัสดิการสังคมไทย: ความสมดุลและยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร:คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ธิดารัตน์ คีมกระโทก. (2551). กระบวนการขับเคลื่อนสวัสดิการชุมชน: กรณีศึกษาตำบล
สมานฉันท์ อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ระพีพรรณ คำหอม. (255). สวัสดิการสังคมกับสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วราวุฒิ โรมรันตพันธ์. (2535). ทฤษฏีการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมชาย ศรีสวัสดิ์. (2558). การศึกษารูปแบบการบริหารจัดการกองทุนสวัสดิการชุมชนออมวันละ 1 บาท:
กรณีศึกษา ตำบลเสม็ดใต อำเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา.ภาคนิพนธ์คณะศิลปศาสตร์สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
Dunham, C. B. (1985). Rational with repeated poles, algorithms for approximation. New York:Clarendon.
Gearey Adam. (2015). Welfare Community and Solidarity. Law Culture and the Humanities.
11, 3: (340-348).
Griggs, D. et al. (2013.) Policy : Sustainable Development Goals for People and Planet. Nature, 495 (305-307).