การจัดการปัญหาขยะมูลฝอยตามหลัก 5 R’s ของชุมชนพรุพี ตำบลท่ายาง อำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบริบทชุมชนและปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย
ของชุมชนพรุพี 2) หาแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยแบบ 5R’s และ 3) สรุปผลที่ได้รับจากการจัดการขยะมูลฝอยแบบ 5R’s เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)
ผลการวิจัย มีดังนี้ 1) จากการศึกษาบริบทชุมชนบ้านพรุพีพบว่า เป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่มีประชากรหนาแน่น เป็นตลาดค้าขายขนาดใหญ่ในเขตเทศบาล มีปัญหาขยะมูลฝอยจากตลาดและการค้าขายเป็นปริมาณมากทุกวัน 2) จากแนวทางการจัดการขยะมูลฝอย 4 ขั้นตอน จากการทำประชาคมบ้านพรุพี ทำให้ได้แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยแบบ 5R’s ชุมชนพรุพี ซึ่งสามารถใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติได้ 3) จากการวิจัยเรื่องนี้ได้ค้นพบว่า การศึกษาดูงาน การจัดการขยะ
มูลฝอยของชุมชนต้นแบบ (Best Practice) เป็นประโยชน์ต่อการนำไปเป็นตัวอย่างของครัวเรือนเป็นอย่างมาก
สำหรับข้อเสนอแนะในการบริหารคือ องค์กรปกครองในท้องถิ่น ควรมีแผนการจัดการขยะมูลฝอยที่ชัดเจน ส่วนข้อเสนอแนวทางด้านวิชาการคือ ควรนำสมาชิกในชุมชนไปศึกษาดูงาน Best Practice และข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยคือ ควรทำวิจัยและพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนอย่างทั่วถึง
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์จะเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการสังคมมนุษย์
References
สำหรับอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน. กรุงเทพฯ :
รุ่งศิลป์การพิมพ์.
________. (2552ก). คู่มือสำหรับผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนอย่างครบวงจร. กรุงเทพฯ : สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย.
________. (2552ข). แนวทางและข้อกำหนดเบื้องต้นการลดและการใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย.
พิมพ์ครั้งที่ 3 ฉบับแก้ไขปรับปรุง. กรุงเทพฯ : บริษัทฮีซ์ จำกัด.
________. (2555). แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2555-2559. กรุงเทพฯ : กรมควบคุมมลพิษ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
________. (2557). Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายของประเทศ. กรุงเทพฯ : กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2550). มาตรฐานการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย.
________. (2552). มาตรฐานการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล. กรุงเทพฯ : กรมควบคุมมลพิษกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. (2554). การจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน. กรุงเทพฯ :
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2555). แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535. กรุงเทพฯ : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
โกวิทย์ พวงงาม. (2552). การปกครองท้องถิ่นไทย : หลักการและมิติใหม่ในอนาคต. พิมพค์ร้ังที่ 7.
กรุงเทพ ฯ : วิญญูชน.
จำรูญ ยาสมุทร. (2555). อนามัยสิ่งแวดล้อมเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย. พิมพ์ครั้งที่ 3. เชียงใหม่ : แสงศิลป์.
จินตวีร์ เกษมศุข. (2557). หลักการมีส่วนร่วมกับการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ : แอคทีฟ พริ้นท์.
ฒาลิศา เนียมมณี. (2554). กระบวนการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาขยะโดยการผลิตอินทรีย์สาร เพื่อการเกษตรของชุมชนบางนางลี่ จังหวัดสมุทรสงคราม. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ณัฐพงษ์ ประดิษฐ์ผล. (2555). การนำหลักการ 5R’s ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการขยะของชุมชน
ในเขตเทศบาลตำบลป่าก่อดา อำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย. การศึกษาอิสระปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ. (2551). คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชน : การตัดสินใจที่ดีกว่า โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า.
ทองม้วน สิมนาม. (2558). การศึกษาสภาพการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนของเทศบาลในเขตพื้นที่อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.
ฝ่ายตรวจและบังคับการ กรมควบคุมมลพิษ. (2558). พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กฎ ประกาศ และระเบียบที่เกี่ยวข้องด้านการควบคุมมลพิษ. พิมพ์ครั้งที่ 6 แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ : องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
ไพบูลย์ แจ่มพงษ์ และคณะ. (2560). การจัดการขยะมูลฝอย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มลฤดี ตรีวัย. (2555). ปัจจัยที่มีผลสำเร็จต่อการคัดแยกขยะชุมชน : กรณีศึกษา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ยุพา อยู่ยืน อิมรอน มะลูลีม และวลัยพร ชิณศรี. (2553). การบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน
ตำบลบางหลวง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตร
มหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 : เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิม
พระชนมพรรษา 7 รอบ 4 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ : นานมี บุคส พับลิเคชั่นส์.
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย. (2556). คู่มือแนวทางการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการจัดการมูลฝอย สำหรบหน่วยงานราชการท้องถิ่นและเจ้าพนักงานตามกฎหมาย
การสาธารณสุข. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย .
สมหญิง นุชปาน. (2553). พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตเทศบาล
ตำบลบางทราย อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารทั่วไป วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.
สมัชญา หนูทอง. (2556). ความรู้และพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของผู้นำท้องถิ่น : กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี.
ปัญหาพิเศษหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.
สารภี สุกใส. (2554). พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของผู้นำชุมชนในพื้นที่องค์การบริหาร
ส่วนตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดนรานิวาส. วิทยานิพนธ์ปริญญา
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต การปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ.2560 - 2564. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2550). รายงานสถานการณ์ คุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2549. กรุงเทพ ฯ: วิฑูรย์การปก.
สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย. (2550). เอกสารคู่มือแนวทางและข้อกำหนดเบื้องต้น การลดและใช้ประโยชน์ขยะ. กรุงเทพ ฯ: กรมควบคุมมลพิษ.
สำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร. (2556). คู่มือแนวทางจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อม
โดยชุมชน กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพ ฯ : มาตาการพิมพ์.
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม. (2552). คู่มือวัดสะอาด ฆราวาส สุขใจ. กรุงเทพ ฯ : สำนักงานกิจการ
โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
สุริยะ หินเมืองเก่า. (2553). จิตสำนึกท้องถิ่นพลังขับเคลื่อนประเทศไทยชุดนักบริหารท้องถิ่นมืออาชีพ. นครปฐม : เพชรเกษมการพิมพ์.
อดิศักดิ์ โรจนาพงษ์. (2551). แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยอินทรีย์ในอุทยานแห่งชาติ. กรุงเทพฯ :
สำนักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช.
อรทัย ก๊กผล. (2552). คู่คิด คู่มือ : การมีส่วนร่วมของประชาชนสำหรับนักบริหารท้องถิ่น. นนทบุรี : วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า.
อาณัต ต๊ะปินตา. (2553). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Clement , Matthew Thomas, (2009). A Basic Accounting of Variation in Municipal Solid-Waste Generation at the County Level in Texas, 2006 : Groundwork For Applying Metabolic –Rift Theory to Waste Generation. Rural Sociology , 74 (3) : 412-429.
Minn, Z., Srisontisuk, S. & Laohasiriwong, W. (2010). “Promoting People ’s Participation in Solid Waste Management in Myanmar”, Research Journal of environmental Sciences. 4(3) : 209-222.
Moore, Jason W. (2011). Transcending the metabolic rift: a theory of crises in the capitalist world-ecology.” The Journal of Peasant Studies ,38( 1) : 1-46.
Teherani-Krönner, P. & Dang, T.H. (2014). Human ecology and gender: a framework to discover natural and cultural resources with climate change accommodation. Journal of Vietnamese Environment, 6 (3) : 212-219.