การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศนของชุมชนแหลมประทับ ตำบลท้องเนียน อำเภอขนอมจังหวัดนครศรีธรรมราช
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องนี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1.)ศึกษาบริบทชุมชนด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศแหลมประทับ 2.)ศึกษาแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และ 3.)ศึกษาความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของนักท่องเที่ยวต่อการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศแหลมประทับ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนแหลมประทับมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่เด่นๆอยู่มาก ในด้านแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวแบ่งออกเป็น 4 ด้าน คือด้านการบริหารงานของคณะกรรมการชุมชนแหลมประทับ ด้านการให้บริการเรือนำเที่ยว ด้านการให้บริการที่พัก และด้านให้บริการร้านอาหาร การบริหารการท่องเที่ยวเชิงนิเวศแหลมประทับที่ผ่านมาประสบผลสำเร็จเป็นที่น่าพอใจ แต่คณะกรรมการชุมชนต้องปรับปรุงทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ด้านกลุ่มเรือนำเที่ยวยังขาดความรู้และการใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ด้านการให้บริการที่พัก มีการแข่งขันจากนายทุนนอกชุมชน จะต้องปรับปรุงโฮมสเตย์ให้ดีขึ้น และในด้านการบริการร้านอาหาร มีการแข่งขันจากบุคคลนอกชุมชน ควรมีการปรับปรุงและประชาสัมพันธ์ให้ดีขึ้น
ข้อเสนอแนะทั่วไป คือการสร้างความร่วมมือในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศให้เกิดความยั่งยืน และข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไปคือการศึกษาเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวอำเภอขนอมให้สอดรับกับการท่องเที่ยวเกาะสมุย และแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆในภาคใต้
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์จะเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการสังคมมนุษย์
References
ของประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2559, จาdwww.mots.go.th/ewt_news.php?nid=2879&filename=index
กรมการท่องเที่ยว. (2552). สถิตินักท่องเที่ยว (Tourist Arrivals in Thailand). ปี 2009.สืบค้น
เมื่อ 15 มีนาคม 2559, จาก www.tourism.go.th/2010/th/statistic/tourism.php?cid=27
กรมการท่องเที่ยว. (2554). สรุปสถานการณ์นักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ ปี 2548-2553.สืบค้น
เมื่อ 15 มีนาคม 2559. จาก www.tourism.go.th/2010/th/news/view.php?ItemID=2220
กรมการท่องเที่ยวและกีฬา. (2551)ยุทธศาสตร์กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา พ.ศ.2551-2554.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. พัฒนาการท่องเที่ยวไทยในทิศทางที่ยั่งยืน ครั้งที่ 2.เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.2545. รายงานฉบับสุดท้าย: แผนปฏิบัติการ การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบ้านดอนมูลอำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน. วิทยานิพนธ์วนศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี.
กฤษณ์ โคตรสมบัติ. 2553. การประเมินศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษาแหล่งท่องเที่ยวในเขตแก่งสามพันโบก อำเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี.
กุลวรา สุวรรณพิมล. 2550. หลักการมัคคุเทศก์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : โสภณการพิมพ์.
ผู้จัดการ 360° รายสัปดาห์. (2553). เชื่อปีเสือ 8จว.ใต้ยิ้มรับนักเที่ยวเพิ่ม ททท.จัดกิจกรรมดูดมาเลย์-สิงคโปร์ สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2559. จาก www2.manager.co.th/mgrWeekly/
ViewNews.aspx?NewsID=9530000009053
ชฎาพร ขุนทองเพชร. 2550. การศึกษาศักยภาพของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษาถ้ำภูผาเพชร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขายุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลานครินทร์.
ชุติมา แจงประดิษฐ์. 2550 การประเมินศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณอ่าวสลักเพชร
เกาะช้าง จังหวัดตราด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต.คณะวิทยาศาสตร์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชูวิทย์ ศิริเชากุล. 2544. การท่องเที่ยวเชิงชุมชนและการจัดการ Home-Stay. จุลสารการท่องเที่ยวโครงการการท่องเที่ยวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ. การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน. กรุงเทพฯ :โครงการท่องเที่ยวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ. Mild Graphic.
ดรรชนี เอมพันธุ์. 2546. เอกสารประกอบการสอน วิชาการจัดการวางแผนการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์.
ภาควิชาอนุรักษวิทยา,คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
. 2545. การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวโดยชุมชน. ใน พรพิมล นุ่นปาน,
เทศบาลตำบลท้องเนียน. ข้อมูลทั่วไป. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2559. จาก www.thongnian.go.th
เทศบาลตำบลท้องเนียน. (2554). ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2559. จาก
www.thongnian.go.th
เทศบาลตำบลท้องเนียน. (2554). จำนวนครัวเรือนแยกตามหมู่บ้าน. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2559.จาก www.thongnian.go.th
บรรณาธิการ. การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
สุรเชษฎ์ เชษฐมาส. 2539. “การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ : แนวคิด หลักการและความเป็นไปได้
ในการประยุกต์ใช้ในอุทยานแห่งชาติ”.เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาอุทยาน
แห่งชาติกับนันทนาการ และการท่องเที่ยวในทศวรรษหน้าเพื่อทรัพยากรที่ยั่งยืน.27-28
พฤษภาคม 2539. กรุงเทพฯ: กรมป่าไม้.
ดวงใจ หล่อธนวณิชย์. 2550 รัฐ ทุน ชุมชน กับการจัดการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน : ศึกษาเปรียบเทียบ ระหว่างไทยกับญี่ปุ่น. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต,วิทยาลัยสหวิทยาการ สาขาสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นภวรรณ ฐานะกาญจน์. 2545. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การจัดการพื้นที่อนุรักษ์.
ในเอกสารประกอบการบรรยายวิชาการจัดการพื้นที่อนุรักษ์. ภาควิชาอนุรักษวิทยาคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. (เอกสารไม่ตีพิมพ์)
นิรันดร์ จงวุฒิเวศน์. 2537. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ :ศักดิ์ โสภา.
บุญเลิศ ตั้งจิตวัฒนา. 2542. การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. เชียงใหม่ :มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
. 2548. การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. บริษัทเพรส แอนด์ ดีไซน์ จำกัด: กรุงเทพฯ.
ประกิจ พันธุ์จุวรรณ. 2545. ศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในมหาวิทยาลัยนเรศวรวิทยาเขต สารสนเทศพะเยา. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พจนา สวนศรี. 2546. คู่มือการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน. กรุงเทพฯ: โครงการท่องเที่ยวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ.2550. เอกสารการสอนชุดวิชา หน่วยที่ 8-15 การจัดการนันทนาการและการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พนิตตา สิงห์ครา. 2544. ศักยภาพของชุมชนบ้านห้วยฮี้ในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
แบบโอมสเตย์. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พิมพ์ระวี โรจน์รุ่งสัตย์. 2553. การท่องเที่ยวชุมชน. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์โอเดี่ยนสโตร์.
ไพฑูรย์ พงศะบุตร. 2552. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราช ประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม 5. พิมพ์ครั้งที่ 5.
ภราเดช พยัฆวิเชียร. 2539. การพัฒนาการท่องเที่ยวไทยในทิศทางยั่งยืน. จุลสารการท่องเที่ยว 2 (เดือนเมษายน- เดือนมิถุนายน) : 4-7.
มธุรส ปราบไพรี. 2543. ศักยภาพของชุมชนในการจัดการแหล่งท่องเที่ยว : กรณีชุมชนไทยทรงคำ บ้านเขาย้อย ตำบลเขาย้อย อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี.หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ยุวดี นิรัตน์ตระกูล. 2544. การท่องเที่ยวชุมชน. จุลสารการท่องเที่ยว
รัถยานภิส พละศึก และคณะ. 2550.รูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่เหมาะสมกับสภาพ ชุมชนท้องถิ่น:ชุมชนแหลมประทับ.หลักสูตรปรัชญาบัณฑิต สาขาการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช.
รุ่งฤดี ขนอม. 2560. ศึกษาเปรียบเทียบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของชุมชนแหลมประทับ กับ เขา พลายดำ. หลักสูตรรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วีระศักดิ์ กราปัญจะ. 2554.รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศนชุมชนบ้านอ่าวท่าเลน – บ้านท่า พรุ.หลักสูตรเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาการจัดการการเกษตร สาขาวิชาส่งเสริม การเกษตรและสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ศมา ณ ระนอง. 2545. การจัดการด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชน คีรีวง ตำบลกาโลน อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช.พัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต, คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิริจรรยา ประพฤติกิจ. 2553. การประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวในอำเภอเมืองตราดเพื่อจัดทา เส้นทางแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาวิชาการวางแผนและการ จัดการการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศูนย์วิจัยป่าไม้. 2538. โครงการศึกษาการท่องเที่ยวเพื่อรักษาระบบนิเวศ : กรณีภาคใต้. กรุงเทพฯ:คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. 2540. การดำเนินการเพื่อกำหนดนโยบาย การท่องเที่ยวเพื่อรักษาระบบนิเวศ. เสนอการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. โรงพิมพ์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย: กรุงเทพฯ.
สินธุ์ สโรบล. 2546. การท่องเที่ยวโดยชุมชน แนวคิดและประสบการณ์พื้นที่ ภาคเหนือ.เชียงใหม่: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
เสรี เวชชบุษกร.2545. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. ในปิ่น พิมพยางกูร. บรรณาธิการ.การ จัดการ นันทนาการและการท่องเที่ยวทางธรรมชาติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว. 2548. คู่มือการประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ.
สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว : กรุงเทพฯ.
สุจริต ขวัญทอง. 2545. การศึกษาการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ในโครงการเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์พัฒนาชุมชนมหาบัณฑิตคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อรสา คงทอง. 2549 ศักยภาพและแนวทางการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา กรณีศึกษา เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลสาบสงขลา (คูขุด) จังหวัดสงขลา.
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม. คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
อุไรพรรณ ปรางอุดมทรัพย์. 2544. ศักยภาพของชุมชนท้องถิ่นในการจัดการการท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์: กรณีศึกษาชุมชนบ้านทุ่งสูง จังหวัดกระบี่. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อุษาวดี พูลพิพัฒน์. 2544. การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน: กรณีศึกษาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน
ในประเทศไทย.ใน เอกสารสัมมนาทางวิชาการ ครั้งที่ 1 (สาขาอุทยานและนันทนาการ),มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อำนาจ รักษาพล. 2548. การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชุมชนเกาะยาวน้อย ตำบลเกาะยาวน้อย อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา.วิทยาศาสตร-มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.