การใช้นพลักษณ์ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

Main Article Content

สุภัค วงศ์ดี
มณฑล สรไกรกิติกูล

บทคัดย่อ

บุคลากรจัดเป็นทรัพยากรหลักในการขับเคลื่อนการดำเนินธุรกิจขององค์กร ในการทำงานของบุคลากรต้องอาศัยทักษะผู้นำซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งต่อการทำงานในศตวรรษที่ 21 ที่ต้องเผชิญกับสภาพการแข่งขันทางธุรกิจ องค์กรจึงควรให้ความสำคัญต่อการพัฒนาบุคลากร ที่อยู่บนพื้นฐานในการเข้าใจถึงศักยภาพและจุดแข็งที่อยู่ภายในของผู้นำแต่ละคนที่มีความหลากหลาย จึงจะสามารถส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีอยู่ จนเป็นผู้นำในองค์กรได้อย่างเหมาะสม นพลักษณ์ (Enneagram) เป็นแนวคิดที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจถึงทักษะผู้นำที่เป็นจุดแข็งที่อยู่ภายในของแต่ละคนที่มีความแตกต่างกัน และยังสามารถนำประยุกต์ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เช่น การจัดฝึกอบรมเพื่อให้บุคลากรค้นหาและเข้าใจตนเอง การวางแผนการพัฒนาตนเองและสายอาชีพ ซึ่งอยู่บนพื้นฐานในการพัฒนาจากความสามารถที่หลากหลายในแต่ละคน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานและสร้างความเข้าใจกันในหมู่ของพนักงานได้มากยิ่งขึ้น

Article Details

How to Cite
วงศ์ดี ส., & สรไกรกิติกูล ม. (2019). การใช้นพลักษณ์ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. Journal of HR intelligence, 13(1), 99–117. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/hri/article/view/211675
บท
บทความวิชาการ

References

จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ. (2556). บทความจากคุณหมอจันทร์เพ็ญ. สืบค้นเมื่อ 1 มกราคม 2560, จากสมาคมนพลักษณ์ไทย https://enneagramthailand.org/บทความ-showdetail-22655-45536-บทความจากคุณหมอจันทร์เพ็ญ.html

โชติวัล ฟูกิจกาญจน์. (2556). การฝึกอบรม : แนวทางการนำไปใช้. วารสารนักบริหาร, 33 (1), 38-44.

แดเนียลส์, เดวิด และ ไพรซ์, เวอร์จิเนีย. (2545). แก่นนพลักษณ์ คู่มือค้นหาและพัฒนาตนเอง. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง.

ไตรรัตน์ โภคพลากรณ์. (2557). Human Resource in Asia ทำไมต้องการการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. วารสาร HR
Intelligence, 9 (2), 9-10.

ทายาท ศรีปลั่ง. (2556). อนาคตงานทรัพยากรบุคคลกับการสร้างความยั่งยืนทางธุรกิจ. วารสาร HR Intelligence, 8 (1), 68-73.

ประสารโชค ธุวะนุติ. (2559). การศึกษาเปรียบเทียบเชิงเหตุผลในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่เน้นแบบธรรมเนียมกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่เน้นการพัฒนาอาชีพของภาครัฐและเอกชนในยุคโลกาภิวัฒน์. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย
ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 10 (2), 215-233.

บ๊อกดา, แอล จินเจอร์. (2552ก). พิชิต 7 Leadership Competencies ด้วยเอ็นเนียแกรมเล่มที่ 1. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นต์ติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

บ๊อกดา, แอล จินเจอร์. (2552ข). พิชิต 7 Leadership Competencies ด้วยเอ็นเนียแกรม เล่มที่ 2. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นต์ติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

พาล์มเมอร์, เฮเลน. (2546). เอ็นเนียแกรม ศาสตร์เพื่อความเข้าใจตนเองและผู้อื่น. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง.

ริโซ, ริชาร์ด ดอน. (2552). เอ็นเนียแกรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงตนเอง. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง.

วรรณภา ลือกิตินันท์. (2558). การประยุกต์ใช้แนวคิดสมรรถนะในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ กรณีศึกษา บริษัทผลิต
ยางรถยนต์ชั้นนำระดับโลกแห่งหนึ่ง. วารสารวิทยาการจัดการ, 32(1), 19-36.

วาจาสิทธิ์ ลอเสรีวานิช. (2552). ผลการใช้โปรแกรมการฝึกอบรมหลักสูตรเอ็นเนียแกรมเพื่อเปรียบเทียบระดับเชาว์อารมณ์ :กรณีศึกษาพนักงานโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เว็บบ์, คาร์เรน. (2543). นพลักษณ์ แผนที่เข้าถึงตน เข้าถึงคน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง.

ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2557). สมรรถนะสำคัญของผู้บริหารมืออาชีพ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 6(12), 165-184.

ศิริพร กาฬกาญจน์ และคณะ. (2559). รูปแบบการพัฒนาอาชีพผู้บริหารระดับต้นในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์เพื่อ
รองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 26(3), 507-516.

สมาคมนพลักษณ์ไทย. (2556ก). การศึกษานพลักษณ์กับการฝึกจิต. สืบค้นเมื่อ 1 มกราคม 2560, จากสมาคมนพลักษณ์ไทย https://enneagramthailand.org/บทความ-showdetail-22656-45304-การศึกษานพลักษณ์กับการฝึกจิต.html

สมาคมนพลักษณ์ไทย. (2556ข). ความเป็นผู้นำของคน 9 ลักษณ์. สืบค้นเมื่อ 1 มกราคม 2560, จากสมาคมนพลักษณ์ไทย https://enneagramthailand.org/บทความ-showdetail-22655-45544-ความเป็นผู้นำของคน_9_ลักษณ์.html

สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.(2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12. สืบค้นเมื่อ 1 มกราคม 2560 สืบค้นจากสำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ https://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422

สันติกโรภิกขุ. (2542). นพลักษณ์เล่มเล็ก คู่มือเข้าถึงตน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง.

สันติกโรภิกขุ. (2556). บทความจากท่านสันติกโร. สืบค้นเมื่อ 1 มกราคม 2560,จาก สมาคมนพลักษณ์ไทย https://
enneagramthailand.org/บทความ-showdetail-22655-45444-บทความจากท่านสันติกโร.html

สำนักงานคณะอนุกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (ม.ป.ป.). เรียนรู้จริยธรรมการวิจัย หลักการ
พื้นฐานของจริยธรรมการวิจัย. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2560, จาก จริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
https://nurse.tu.ac.th/ecsctus3/knowlageread.php?kId=002

สุเนตรา แสงรัตนกูล และคณะ. (2558). การพัฒนาคู่มือการจัดทำแผนพัฒนาผู้ตรวจสอบภายในรายบุคคลโดยอิงเกณฑ์สมรรถนะหลักสำหรับผู้ตรวจสอบภายใน. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 10(29), 51-66.

สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน. (2557). อภิวัฒน์การเรียนรู้ สู่จุดเปลี่ยนประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 1 มกราคม 2560, จากสำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน https://www.qlf.or.th/Home/
Contents/906

อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2552). การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล Individual Development Plan IDP. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี การพิมพ์.

Colina, T. (1998). Nine ways of looking at work. The Journal for Quality and Participation, 21 (5), 56-59.

Encombe, J. (2008). Equipping leaders for the 21st century. Strategic HR Review, 7 (5), 23-27.

Goldberg, M. J. (2000). The 9 Ways of Working: How to Use the Enneagram to Discover Your Natural Strengths and Work More Effectively. Personnel Psychology, 53 (2), 512-514.

Jones, J. (2015). Effective Leadership in the 21st Century. Radiology Management, 37 (6), 16-19.

Kale, S. H. & Shrivastava, S. (2003). The enneagram system for enhancing workplace spirituality. Journal of
Management Development, 22(4), 308-328. DOI: 10.1108/02621710310467596

Karakas, F. (2010). Exploring Value Compasses of Leaders in Organizations: Introducing Nine Spiritual Anchors. Journal of Business Ethics, 93 (1), 73-92.

Mcmillan, C. B. (2016). The Enneagram understand your worldview with this tool describing nine types of patterns. Smart Business Akron/Canton, 25 (11), 13.

Nahm, S. (2015). 9 styles to develop as a leader. Executive Leadership, 30 (8), 3.

Nolan, S. (2007). Leadership in the 21st century. Strategic HR Review, 6 (5), 2.

Sutton, A., Allinson, C. & Williams, H. (2013). Personality type and work-related outcomes: An exploratory application of the Enneagram model. European Management Journal, 31, 234-249.

The World Bank. (2012). Leading with Ideas: Skills for Growth and Equity in Thailand. Retrieved on January1,2018, from World Bank https://openknowledge.worldbank.org/handle/10986/2732

Tome, E. & Mladkova, L. (2015). Managing Experts in the Knowledge Economy by Enneagram. Proceedings of the European Conference on Intellectual Capital, 324-333. Retrieved on January 1,2018, from https://eds.
ebscohost.com/eds/pdfviewer/pdfviewer?sid=958e9fe5-fdf0-46a3-9503-3bdda81e7893%40sessionmgr106&
vid=20&hid =117

Wright, S. & Adams, J. S. (2007). Who do you think you are?. Nursing Standard, 21 (32), 20-23.