วรรณกรรมในกรอบวิวัฒนาการ:
ทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วินในการวิเคราะห์วรรณกรรมอังกฤษ
คำสำคัญ:
ชาร์ลส์ ดาร์วิน, วรรณกรรมกับวิทยาศาสตร์, วรรณกรรมวิวัฒน์แบบดาร์วิน, จอห์น มิลตัน, การบูรณาการหลักสูตรบทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งศึกษาบทบาทของทฤษฎีวิวัฒนาการของชาร์ลส์ ดาร์วินที่มีต่อวรรณกรรม โดยพิจารณาตั้งแต่อิทธิพลของทฤษฎีที่มีต่อนักเขียนยุควิกตอเรียน โดยเฉพาะในนวนิยายสัจนิยมยุควิกตอเรียนของชาร์ลส์ ดิกเกนส์ และจอร์จ เอเลียต จนถึงการเกิดขึ้นของทฤษฎีวรรณกรรมวิวัฒน์ในศตวรรษที่ 20 โดยผู้วิจัยได้ทดลองประยุกต์ใช้ทฤษฎีดังกล่าวในการวิเคราะห์บทกวีซอนเนตที่ 7 ของจอห์น มิลตัน ผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า ทฤษฎีวรรณกรรมวิวัฒน์แบบดาร์วินมีจุดแข็งในการอธิบายพฤติกรรมของตัวละครผ่านมุมมองการปรับตัวเพื่อความอยู่รอด แต่มีข้อจำกัด คือ หากยึดถือแต่กทฤษฎีวิวัฒนาการอย่างเดียว อาจนำไปสู่การอ่านที่ละเลยบริบททางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมได้ ดังจะเห็นได้จากการทดลองอ่านซอนเนตที่ 7 ของมิลตัน ซึ่งพบว่าทฤษฎีวรรณกรรมวิวัฒน์แบบดาร์วินไม่สามารถอธิบายมิติทางศาสนาและจิตวิญญาณในบทกวีได้อย่างครอบคลุม อย่างไรก็ตาม การศึกษานี้เสนอว่าทฤษฎีวรรณกรรมวิวัฒน์แบบดาร์วินสามารถเป็นเครื่องมือเสริมที่มีประโยชน์ในการวิเคราะห์วรรณกรรม
แต่ควรใช้ร่วมกับวิธีวิจารณ์อื่น ๆ เพื่อให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
References
ภาษาไทย
Darwin, Charles ดาร์วิน, ชาร์ลส์. (2015). Kamnoed sapichies กำเนิดสปีชีส์ [On the origin of species] (N. Cheevawat et al., Trans.). Sarakadee. (Original work published 1859)
ภาษาต่างประเทศ
Beer, G. (1983). Darwin's plots. Cambridge University Press.
Beer, G. (2000). Darwin's plots (2nd ed.). Cambridge University Press.
Boyd, B. (2005). Literature and evolution: A bio-cultural approach. Philosophy and Literature, 29(1), 1-23.
Carroll, J. (1995). Evolution and literary theory. Human Nature, 6(2), 119-134. https://doi.org/10.1007/BF02734174
Carroll, J. (2004). Literary Darwinism: Evolution, human nature, and literature. Routledge.
Carroll, J. (2010). Three scenarios for literary Darwinism. New Literary History, 41(1), 53–67. http://www.jstor.org/stable/40666484
Carroll, J. (2016). Evolutionary literary study. In D. M. Buss. (Ed.), The handbook of evolutionary psychology: Integrations (2nd ed.; Vol. 2; pp. 1103-1119). John Wiley and Sons.
Darwin, C. (2008). On the origin of species (G. Beer, Ed.; Revised ed.). Oxford University Press. (Original work published 1859)
Eliot, G. (2017). Middlemarch (Evergreen Edition). Alma Classics.
Griffiths, D. (2019). The age of analogy: Science and literature between the Darwins. Johns Hopkins University Press.
Haskin, D. (1982). The burden of interpretation in The Pilgrim's Progress. Studies in Philology, 79(3), 256-278.
Kaplan, H., Hill, K., Lancaster, J., & Hurtado, A. M. (2000). A theory of human life history evolution: Diet, intelligence, and longevity. Evolutionary Anthropology, 9(4), 156-185. https://doi.org/10.1002/1520-6505(2000)9:4%3C156::AID-EVAN5%3E3.0.CO;2-7
King, M. L. (2003). The Renaissance in Europe. Laurence King Publishing.
Kramnick, J. (2011). Against literary Darwinism. Critical Inquiry, 37(2), 315-347.
Levine, G. (1988). Darwin and the novelists: Patterns of science in Victorian fiction. Harvard University Press.
Lieberman, D. E. (2013). The story of the human body: Evolution, health, and disease. Vintage.
Milton, J. (1953). To a Friend. In D. M. Wolfe (Ed.), Complete prose works of John Milton (Vol. 1; pp. 319-321). Yale University Press.
Milton, J. (n.d.). Sonnet 7: How soon hath time, the subtle thief of youth. Poetry Foundation. Retrieved July 22, 2024, from https://www.poetryfoundation.org/poems/44744/sonnet-7-how-soon-hath-time-the-subtle-thief-of-youth
Porter, R. (1998). London: A social history. Harvard University Press.
Swiss, M. (1986). Crisis of conscience: A theological context for Milton's “How Soon Hath Time”. Milton Quarterly, 20(3), 98-103. https://doi.org/10.1111/j.1094-348X.1986.tb00684.x
Willis, M. (2015). Literature and science (Vol. 2 of Readers' Guides to Essential Criticism). Macmillan Education UK.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
การป้องกันปัญหาด้านลิขสิทธิ์และการคัดลอกผลงาน
ผู้เขียนบทความมีหน้าที่ในการขออนุญาตใช้วัสดุที่มีลิขสิทธิ์คุ้มครองจากเจ้าของลิขสิทธิ์ ผู้เขียนบทความมีความรับผิดชอบที่จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายในการคัดลอกและทำสำเนาวัสดุที่มีลิขสิทธิ์อย่างเคร่งครัด การคัดลอกข้อความและการกล่าวพาดพิงถึงเนื้อหาจากวัสดุตีพิมพ์อื่น ต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มากำกับและระบุแหล่งที่มาให้ชัดเจนในส่วนบรรณานุกรม การคัดลอกข้อความหรือเนื้อหาจากแหล่งอื่นโดยไม่มีการอ้างอิงถือเป็นการละเมิดจริยธรรมทางวิชาการที่ร้ายแรง และเข้าข่ายการละเมิดลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 หากมีการฟ้องร้องดำเนินคดีใด ๆ เกิดขึ้น ผู้เขียนบทความมีความรับผิดชอบทางกฎหมายแต่เพียงผู้เดียว