ความตายและความทรงจำ:

การวิเคราะห์เนื้อหาในเรื่องเล่าประสบการณ์ความสูญเสีย

ผู้แต่ง

  • วีณา วุฒิจำนงค์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์เนื้อหา, โครงสร้างของเรื่องเล่า, ผู้เล่าเรื่อง, ความทรงจำ, ความตาย

บทคัดย่อ

เนื้อหาของเรื่องเล่าสามารถแสดงให้เห็นถึงประเด็นที่ตราตรึงอยู่ในความทรงจำของผู้เล่าได้ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลเรื่องเล่าประสบการณ์ความสูญเสียและวิเคราะห์เนื้อหาที่ปรากฏในเรื่องเล่าตามแนวคิดเรื่องการวิเคราะห์เนื้อหา ข้อมูลมาจากเรื่องเล่าประสบการณ์ความสูญเสียจำนวน 17 เรื่อง ที่ตีพิมพ์ลงในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง “เรื่องเล่าแห่งความขอบคุณ” ผลการวิจัยพบว่า เนื้อหาที่ปรากฏในเรื่องเล่าประสบการณ์ความสูญเสียมี 20 ประเด็น จัดกลุ่มได้เป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ เนื้อหาเรื่องเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนการตายของผู้ตาย วาระสุดท้ายของผู้ตาย เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังการตายของผู้ตาย ความคิดเห็นของผู้เล่าเรื่อง และการอวยพรผู้อ่าน เนื้อหาที่ปรากฏในความถี่สูงคือเนื้อหาเรื่องวาระสุดท้ายของผู้ตาย และความรู้สึกของผู้เล่าเรื่อง อันเป็นลักษณะเด่นของเรื่องเล่าประสบการณ์ความสูญเสีย ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า เนื้อหาของเรื่องเล่าอาจสัมพันธ์กับโครงสร้างของเรื่องเล่าและการลำดับเรื่อง

Author Biography

วีณา วุฒิจำนงค์, มหาวิทยาลัยศิลปากร

ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์

References

ภาษาไทย

Akhawit Ruengrong, Nuttawat Janham & Saowalak Chandam อัควิทย์ เรืองรอง, ณัฐวัตร จันทร์งาม & เสาวลักษณ์ จันทร์ดำ. (2018). Laksana den khong nueaha chak “rueanglao” thi rao a-rom sathuean chai nai hetkarn sawankhot nai phrabat somdet phra paraminthara maha Bhumibol Adulajadej ลักษณะเด่นของเนื้อหาจาก “เรื่องเล่า” ที่เร้าอารมณ์สะเทือนใจในเหตุการณ์สวรรคตในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช [Dominant characteristics of “emotional narratives” towards the decease of H.M. King Bhumibol Adulajadej]. Warasarn Sinlapasat Mahawitthayalai Ubon Ratchathani วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี [Journal of Liberal Arts, Ubon Ratchathani University], 14(2), 227-248.

Pimpisa Rattanapanlop พิมพ์พิศา รัตนพัลลภ (Ed.). (2021). Rueanglao haeng khwamkhopkhun เรื่องเล่าแห่งความขอบคุณ [Narrative of gratitude]. Peaceful Death. https://peacefuldeath.co/wpcontent/uploads/2021/06/เรื่องเล่าแห่งความขอบคุณ.pdf

Prapassorn Chansatitporn ประภัสสร จันทร์สถิตย์พร. (2018). Rueanglao chak khao nangsuepim nai sai phranet somdet phrachao phi nang thoe chao fah Gallayani Vadhana krommaluang Naradhiwas ratchanakharin “chotmai het chaoban khao somdet ya sawankhot chak nangsuepim” เรื่องเล่าจากข่าวหนังสือพิมพ์ในสายพระเนตรสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ “จดหมายเหตุชาวบ้าน ข่าวสมเด็จย่าสวรรคตจากหนังสือพิมพ์” [Narrative from newspaper in a vision of H.R.H Princess Galyani Vadhana, Princess of Naradhiwas “Popular chronicle from the press, the demise of the princess mother”]. Warasarn Wichakan Khana Manutsayasat lae Sangkhommasat Mahawitthayalai Rajabhat Nakhon Sawan วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ [The Academic Journal: Faculty of Humanities and Social Sciences Nakhon Sawan Rajabhat University], 5(1), 35-75.

Watcharin Intaprom วัชรินทร์ อินทพรหม. (2019). Kanwikhro lae kannamsanoe pon kanwikhro khomun choeng khunnapap การวิเคราะห์และการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ [Analysis and presentation of qualitative data analysis]. Warasarn Wichakarn Mahawittayalai Rajabhat Phranakhon วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร [Academic Journal Phranakhon Rajabhat University], 10(2), 314-333.

Weena Wutthichamnong วีณา วุฒิจำนงค์. (2022, July 1). Suk chai thi tai di: Konlawithi thang phasa nai rueanglao prasopkan khwamsunsia สุขใจที่ตายดี: กลวิธีทางภาษาในเรื่องเล่าประสบการณ์ความสูญเสีย [Happy with good death: Linguistic strategies in narratives about experiences of loss] [Conference session]. Kanprachum wichakan manutsayasat lae sangkhommasat radap chat khrang thi 15 lae radap nanachat khrang thi 2 การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติครั้งที่ 15 และระดับนานาชาติครั้งที่ 2 [Proceedings of 15th National and 2nd International Conference on Humanities and Social Sciences], Virtual conference via Zoom Cloud Meetings.

ภาษาต่างประเทศ

Bennett, K. M., & Vidal-Hall, S. (2000). Narratives of death: A qualitative study of widowhood in later life. Ageing & Society, 20(4), 413-428. https://doi.org/10.1017/S0144686X99007813

Downe-Wamboldt, B. (1992). Content analysis: Method, applications, and issues. Health Care for Women International, 13(3), 313-321. https://doi.org/10.1080/07399339209516006

Hsieh, H.-F., & Shannon, S. E. (2005). Three approaches to qualitative content analysis. Qualitative Health Research, 15(9), 1277-1288. https://doi.org/10.1177/1049732305276687

Krippendorff, K. (1980). Content analysis: An introduction to its methodology. Sage.

Labov, W. & Fanshel, D. (1977). Therapeutic discourse: Psychotherapy as conversation. Academic Press.

Labov, W. & Waletzky, J. (1967). Narrative analysis: Oral versions of personal experience. In J. Helm (Ed.), Essays on the verbal and visual arts (pp. 12-44). University of Washington Press.

Labov, W. (1972). Sociolinguistic patterns. University of Pennsylvania Press.

Labov, W. (2014). The transformation of experience in narrative. In A. Jaworski & N. Coupland (Eds.), The discourse reader (3rd ed., pp. 200-212). Routledge.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-28

How to Cite

วุฒิจำนงค์ ว. . (2022). ความตายและความทรงจำ:: การวิเคราะห์เนื้อหาในเรื่องเล่าประสบการณ์ความสูญเสีย. วารสารอักษรศาสตร์, 51(2), 69–90. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jletters/article/view/264911