การวิเคราะห์และประเมินความเพียงพอของปริมาณน้ำ ในการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจของจังหวัดระยอง

ผู้แต่ง

  • เอกกมล วรรณเมธี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • แพรวา อุดมเดชาเวทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ปะรินดา พานนูน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

ความต้องการใช้น้ำของพืช, ความขาดแคลนน้ำในการเพาะปลูก, สมดุลน้ำในดิน, ภัยแล้ง, แบบจำลองพลวัติเชิงพื้นที่

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเพียงพอของน้ำฝนและน้ำชลประทานต่อการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจของจังหวัดระยองในปี 2556 2559 2561 และ 2563 วิธีการวิจัยเริ่มจากการประเมินความต้องการใช้น้ำของพืชเศรษฐกิจจำนวน 23 ชนิดจากการประมาณค่าการคายระเหยอ้างอิงด้วยวิธีการของ FAO Penman-Monteith ในแต่ละช่วงการเจริญเติบโต จากนั้นจึงคำนวณสมดุลน้ำในดินรายเดือนจากปริมาณน้ำฝน น้ำสะสมในดินจากเดือนก่อนหน้า การไหลผ่านของน้ำออกจากส่วนรากพืช และปริมาณการใช้น้ำของพืชด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กำหนดการคำนวณด้วยกริดขนาด 40 x 40 เมตร ผลลัพธ์ที่ได้เป็นปริมาณน้ำส่วนเกินและส่วนขาดจากระดับน้ำในดินที่พืชประสบภาวะขาดน้ำ ผลการศึกษาพบว่า ปริมาณฝนในจังหวัดระยองเพียงพอในการเพาะปลูกเฉลี่ยปีละ 3-4 เดือนระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม และพบการขาดน้ำตลอดช่วงฤดูแล้งรวมถึงภาวะฝนทิ้งช่วงในเดือนสิงหาคม พื้นที่ที่มีปริมาณน้ำส่วนขาดสูงสุดเป็นการเพาะปลูกปาล์มน้ำมันและข้าวซึ่งมีความต้องการใช้น้ำสูงรวมถึงเป็นพื้นที่ดินร่วนเหนียวปนทรายที่มีความสามารถกักเก็บน้ำสำหรับ พืชได้น้อย การเพาะปลูกทางฝั่งตะวันออกของจังหวัดมีปริมาณน้ำส่วนขาดและระยะการขาดน้ำ (เฉลี่ย 5-7 เดือน) ต่ำกว่าพื้นที่ทางตะวันตกและตอนกลาง (เฉลี่ย 8.5-11 เดือน) แม้เป็นการเพาะปลูกพืชชนิดเดียวกัน เนื่องจากมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายปีสูงกว่า ความต้องการน้ำจากแหล่งชลประทานสูงสุดในเดือนเมษายนและพฤษภาคม (ร้อยละ 7.0-33.6 ของน้ำในอ่างเก็บน้ำ) เนื่องจากมีความต้องการใช้น้ำมากในช่วงเริ่มต้นการเพาะปลูกและการให้ผลผลิตของไม้ผล และปริมาณฝนยังมีไม่เพียงพอในช่วงต้นฤดูฝน ดังนั้นจึงเป็นช่วงเวลาที่เสี่ยงต่อการมีน้ำไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูกมากที่สุดหากปริมาณน้ำสะสมในอ่างเก็บน้ำจากช่วงฤดูแล้งในปีก่อนหน้ามีน้อย

 

Author Biographies

เอกกมล วรรณเมธี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ คณะอักษรศาสตร์

แพรวา อุดมเดชาเวทย์ , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ คณะอักษรศาสตร์

ปะรินดา พานนูน, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ คณะอักษรศาสตร์

References

ภาษาไทย

Agricultural Research Development Agency สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร. (n.d.). Yang para ยางพารา [Para Rubber]. Retrieved July 20, 2022, from https://www.arda.or.th/kasetinfo/south/para/controller/index.php

Engineering Today. (2020). Song kwamkuepna paen kanborihan chatkan nam nai puenthi EEC phop Chonburi chai nam mak kueap 200 lan lokbatmet ส่องความคืบหน้าแผนการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ EEC พบชลบุรีใช้น้ำมากเกือบ 200 ล้าน ลบม. [Eye on the progresses of water management plan in EEC found Chon Buri use water almost up to 200 MCM]. Retrieved September 20, 2022, from https://www.engineeringtoday.net/จัดการน้ำ-พื้นที่-eec/

Land Development Department กรมพัฒนาที่ดิน. (2022). Sarup saphap kanchai thidin rai changwat (pak thawan-ok) สรุปสภาพการใช้ที่ดินรายจังหวัด (ภาคตะวันออก) [Summary of Land use by provinces (Eastern Region)]. Retrieved July 20, 2022, from http://www1.ldd.go.th/web_OLP/report_research_E.html

Mattana Chaimahawan, Sakol Panmuang, & Jarassri Sumanangkul มัทธนา ชัยมหาวัน, สกล ผ่านเมือง,

และจรัสศรี สุมะนังกุล. (2017). Kansueksa kanpluk palm namman nai puenthi suan som rang thung Rangsit การศึกษาการปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่สวนส้มร้างทุ่งรังสิต [A case study of oil palm in the abandoned orange groves in Rangsit field]. Retrieved July 21, 2022, from http://www1.ldd.go.th/WEB_PSD/Employee%20Assessment/wean/pch/pch50/1.pdf

Meteorological Department กรมอุตุนิยมวิทยา. (2016). Komun phumi-akat krom utuniyom witthaya rob 30 pi (por sor 2530-2559) ข้อมูลภูมิอากาศกรมอุตุนิยมวิทยารอบ 30 ปี (พ.ศ.2530-2559) [Climatological data Meteorological Department in 30 years (1987-2016)]. Bangkok

Office of Agricultural Economics สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2020). Patithin phonphalit sinkha kaset rai duean radap changwat ปฏิทินผลผลิตสินค้าเกษตรรายเดือนระดับจังหวัด [A provincial-level crop calendar chart]. Retrieved July 20, 2022, from https://www.oae.go.th/assets/portals/1/files/jounal/BIAE_calendar/calendar-biae.pdf

Office of EEC Policy Committee, Working Group of EEC Agricultural Development Plan สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก คณะทำงานแผนพัฒนาการเกษตรเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. (2021). Phaen patibatkan dan kanphatthana kankaset nai khet phatthana piset pak tawan-ok por sor 2566-2570 แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาการเกษตรในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2566-2570 [An operational plan for agricultural development in EEC (2023-2027)]. Retrieved September 27, 2022, from https://www.eeco.or.th/web-upload/filecenter/eec-development-plan/actionplan1.pdf

Parida Kuneepong, Sanchai Hoondee, & Nongyow Deetae ผริดา คุณีพงษ์, สัญชัย หุ่นดี, และนงเยาว์ ดีแท้. (2001). Kanpramoen kunkha khong thidin thang kaiyaphap nai kanpluk maipon chanit thang thang amphoe Tah Mai changwat Chantha Buri การประเมินคุณค่าของที่ดินทางกายภาพในการปลูกไม้ผลชนิดต่าง ๆ อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี [Physical land evaluation for some fruit trees at Amphoe Tah Mai, Chantha Buri Province]. Land Development Department. Retrieved July 18, 2022, from http://oss101.ldd.go.th/osr_data&service/OSR_PDF/TB_SSK_Distribute/D_SSK484.pdf

Royal Irrigation Department, Bureau of Project Management กรมชลประทาน สำนักบริหารโครงการ. (2019). Rai-ngan phae maebot kanphatthana lumnam changwat Rayong รายงานแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำจังหวัดระยอง [A report on the master plan of Rayong watershed development]. Retrieved August 8, 2022, from http://opm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads/source/opm-main/รายงานแผนงานจังหวัด/กลางและตะวันออก/new/17_10_2562/สชป9/5ระยอง.pdf

Royal Irrigation Department, Bureau of Water Management and Hydrology กรมชลประทาน สำนักบริหารน้ำและจัดการอุทกวิทยา. (2012). Khasamprasit phuet doi withi Penman – Monteith ค่าสัมประสิทธิ์พืชโดยวิธี Penman – Monteith [Crop coefficient (KC) of Penman - Monteith]. Retrieved July 20, 2022, from http://water.rid.go.th/hwm/cropwater/iwmd/db/pdf/kc.pdf

Suchjarit Koontanakulvong, Surichai Wankaew, Chaiyuth Sukhsri, Phisan Santithamnon, Nate Atchariyapitak, Somsak Srichan, Sutthi Atchasai, Chokchai Suthithammachit, Winai Chaowawiwat, Sak Sakulthai, Surangrat Jumnainpol, Sanchai Rattanakwan, Wongwatana Sombunying, Sawarin Rerkyusuk, Wanwalee Wongkasemsun, Warattaya Krantaicharoen, & Chompunuch Petrarat. สุจริต คูณธนกุลวงศ์,

สุริชัย หวันแก้ว, ชัยยุทธ สุขศรี, ไพศาล สันติธรรมนนท์, เนตร อัจฉริยะพิทักษ์, สมศักดิ์ ศรีจันทร์, สุทธิ อัชฌาศัย, โชคชัย สุทธิธรรมจิต, วินัย เชาวน์วิวัฒน์, ศักย์ สกุลไทย, สุรางค์รัตน์ จำเนียรพล, สันต์ชัย รัตนะขวัญ,

วงศ์วัฒนา สมบุญยิ่ง, สวรินทร์ ฤกษ์อยู่สุข, วรรณวลี วงศ์เกษมสันต์, วรัทยา การไถเจริญ, และ ชมพูนุท เภตราวัฒน์. (2008). Kanphatthana rabop sarasonthet phuea kanchat sapphayakon nam choeng phuenthi prom rabop sanapsanun kantatsinchai lae krabuankan thang sangkom nai boriwen phuenthi changwat rayong: Rai-ngan chabap sombun; Rai-ngan lak การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดทรัพยากรน้ำเชิงพื้นที่พร้อมระบบสนับสนุนการตัดสินใจ และกระบวนการทางสังคมในบริเวณพื้นที่จังหวัดระยอง: รายงานฉบับสมบูรณ์; รายงานหลัก [Area-based water resources management system development along with decision support system and social process in Rayong province area: Completed report; Main report]. Thailand Research Fund.

Sukawat Chanpannik, Sermsuk Salakpetch, Aumpika Punnachit, & Wittaya Tangkosakul สุขวัฒน์ จันทรปรรณิก, เสริมสุข สลักเพชร, อัมพิกา ปุนนจิต, และวิทยา ตั้งก่อนสกุล. (1992, December 24). [Aekkasan prakop kanfuek-oprom rueang kwamhaenglaeng phai thammachat khong chaosuan phak tawan-ok] เอกสารประกอบการฝึกอบรมเรื่อง ความแห้งแล้ง ภัยธรรมชาติของชาวสวนภาคตะวันออก [Training handout on drought, natural hazards for farmers in the Eastern Region]. Chanthaburi Horticultural Research Center, Department of Agriculture.

Supreechaya Boonmak, Phongchayon Srisuwan, & Nattawan Samakjan. สุปรีชญา บุญมาก, พงศ์ชยนต์ ศรีสุวรรณ, และณัฐวรรณ สมรรคจันทร์. (2019). Chak Eastern Seaboard su EEC kanphatthana phuenthi setthakit Thai nai phumipak thawan-ok จาก Eastern Seaboard สู่ EEC การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจไทยในภูมิภาคตะวันออก [From the Eastern Seaboard to EEC: the development of Thailand economy in the Eastern region]. In Wirat Pinkaew et al. (Eds.), Aekkasan prakop kanprachum wichakan radap chat khrang thi 11 mahawitthayalai Ratchapat Nakhon Pathom “wichai sang nawattakam phuea patthana thongthin phuea sangkom Thai su Disruptive Society” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม “วิจัยสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นเพื่อสังคมไทยสู่ Disruptive Society” [Full Paper Proceedings: The 11th NPRU National Academic Conference “Research builds innovation for the local and Thailand development toward disruptive society”] (pp. 1381-1389). Research and Development Institute, Nakhon Pathom Rajabhat University. http://dept.npru.ac.th/conference11/data/files/full%20papers%20proceedings%20NPRU%202019%20edit%2002122562.pdf

Suttirat Kittipongviset, Pitchapan Rattanapan, Benjawan Chaisri, & Arthit Petchrak สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ,

พัชชาพันธ์ รัตนพันธ์, เบญจวรรณ ชัยศรี, และอาทิตย์ เพ็ชร์รักษ์. (2021). Patchai thi mi phon tor kanrabu phuenthi siang pailaeng duai komun rabop sarasontet phumisat lae mumming chak phuchiaochan nai phuenthi khet phatthana phiset paktawan-ok ปัจจัยที่มีผลต่อการระบุพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งด้วยข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และมุมมองจากผู้เชี่ยวชาญในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก [Factors affecting drought-risk area identification using Geographic Information System and perspectives from the experts in the Eastern Economic Corridor]. Warasarn Singwaetlom วารสารสิ่งแวดล้อม [Environmental Journal], 25(2), 1-7.

Thai PBS ไทยพีบีเอส. (2020, April 27). 5 angkepnam Rayong luea nam 13 poesen kat chai dai thueng sin mitunayon 63 5 อ่างเก็บน้ำระยอง เหลือน้ำ 13% คาดใช้ได้ถึงสิ้น มิ.ย. 63 [5 reservoirs in Rayong have 13% of water left to be used until end of June 2020]. https://news.thaipbs.or.th/content/291739

Thammanoon Kaewkongka ธรรมนูญ แก้วคงคา. (2006). Kanhainam chonlaprathan kap phuet: akkasan wichakan การให้น้ำชลประทานกับพืช: เอกสารวิชาการ [Crop water Irrigation: Academic paper]. Department of Agriculture.

Virada Chuensombat วิรดา ชื่นสมบัติ. (2021). Rai-ngan katkan pailaeng nai phuenthi tham kankaset pi 2564 รายงานคาดการณ์ภัยแล้งในพื้นที่ทำการเกษตร ปี 2564 [A report on prediction of drought hazards in agricultural areas in 2021]. Land Development Department. http://irw101.ldd.go.th/images/dro_Book64.pdf

Wittaya Tangkosakul วิทยา ตั้งก่อสกุล. (1994). Lak kanchatkan nam nai suan longkong thawan-ok หลักการจัดการน้ำในสวนลองกอง ตะวันออก [Principles of water management in longkong plantation]. Kaset Kaona เกษตรก้าวหน้า [Progressive Agriculture], 9(4), 21-36.

ภาษาต่างประเทศ

Allen, R. G., Pereira, L. S., Raes, D., & Smith, M. (1998). Crop evapotranspiration —guidelines for computing crop water requirements - FAO Irrigation and drainage paper 56. Food and Agriculture Organization.

Aye, P. P., Koontanakulvong, S., & Long, T. T. (2019). Deep percolation characteristics via field soil moisture sensors – Case study in Phitsanulok, Thailand. Taiwan Water Conservancy, 67, 39-48.

Brouwer, C., & Heibloem, M. (1986). Irrigation water management: Training manual no.3. Food and Agriculture Organization.

ESRI. (n.d.). Python in ArcGIS Pro [Computer software]. https://pro.arcgis.com/fr/pro-app/latest/arcpy/get-started/installing-python-for-arcgis-pro.htm

Forsythe, W. C., Rykiel, E.J., Jr., Stahl, R. S., Wu, H., & Schoolfield, R. M. (1995). A model comparison for daylength as a function of latitude and day of year. Ecological Modelling, 80(1), 87-95.

Hendriks, M. R. (2010). Introduction to Physical Hydrology. Oxford University Press.

Howell, T. A., & Evett, S. R. (2004). The Penman-Monteith method. In Evapotranspiration: Determination of Consumptive Use in Water Rights Proceedings (pp. 5-8). Continuing Legal Education in Colorado.

Long, T. T., & Koontanakulvong, S. (2019). Deep percolation characteristics via soil moisture sensors approach in Saigon River Basin, Vietnam. International Journal of Civil Engineering and Technology, 10(3), 403-412.

Mangmeechai, A. (2020). Effects of rubber plantation policy on water resources and Landuse change in Northeastern region of Thailand. GEOGRAPHY, ENVIRONMENT, SUSTAINABILITY, 13(2), 73-83. https://doi.org/10.24057/2071-9388-2019-145

Muangthong, S., Chaowiwat, W., Sarinnapakorn, K., & Chaibandit, K. (2020). Prediction of future drought in Thailand under changing climate by using SPI and SPEI indices. Mahasarakham International Journal of Engineering Technology, 6(2), 48-56.

Rawls, W. J., Brakensiek, D. L., & Saxtonn, K. E. (1982). Estimation of soil water properties. Transactions of the ASAE, 25(5), 1316-1320.

Sarukkalige, R., & Jones, K. (2017, May 29 – June 3). Assessment of crop water requirements for sustainable agriculture in Western Australia [Paper presentation]. XVI World Water Congress, Cancún, Quintana Roo, Mexico.

Soparat, J. (2015). Water balance modeling of rubber tree (Hevea brasilliensis) plantation under tropical conditions [Doctoral dissertation, Prince of Songkla University]. PSU Knowledge Bank. https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/10200/1/404710.pdf

Soytong, P., Janchidfa, K., Phengphit, N., Chayhard, S., & Perera, R. (2016). The effects of land use change and climate change on water resources in the Eastern region of Thailand. International Journal of Agricultural Technology, 12(7), 1695-1722.

Steduto, P., Hsiao, T. C., Fereres, E., & Raes, D. (2012). Crop yield response to water: FAO irrigation and drainage paper 66. Food and Agriculture Organization of the United Nations.

Zotarelli, L., Dukes, M. D., Romero, C. C., Migliaccio, K. W., & Kelly, T. R. (2015). Step by step calculation of the Penman-Monteith evapotranspiration (FAO-56 Method). Retrieved June 10, 2022, from https://edis.ifas.ufl.edu/pdf/AE/AE45900.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-28

How to Cite

วรรณเมธี เ. ., อุดมเดชาเวทย์ แ. ., & พานนูน ป. (2022). การวิเคราะห์และประเมินความเพียงพอของปริมาณน้ำ ในการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจของจังหวัดระยอง. วารสารอักษรศาสตร์, 51(2), 21–50. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jletters/article/view/263761