การบันทึกเหตุการณ์:

รากฐานจดหมายเหตุของไทยและพัฒนาการสู่สังคมร่วมสมัย

ผู้แต่ง

  • นยา สุจฉายา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

จดหมายเหตุ, การจัดการจดหมายเหตุ, การบันทึกเหตุการณ์, สถานการณ์ฉุกเฉิน, สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ

บทคัดย่อ

“จดหมายเหตุ” ในความหมายดั้งเดิมของไทยก่อนได้รับอิทธิพลการจัดการจดหมายเหตุสมัยใหม่จากตะวันตก หมายถึง การบันทึกเหตุการณ์ ซึ่งแตกต่างจากจดหมายเหตุสากลซึ่งเน้นการเก็บเอกสารที่มีคุณค่าในระยะยาว บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษารากฐานวัฒนธรรมการจัดการจดหมายเหตุดั้งเดิมของไทย โดยศึกษาพัฒนาการการบันทึกในสังคมไทยและแนวคิดเบื้องหลัง โดยศึกษาเอกสารจดหมายเหตุไทยในบริบทต่าง ๆ รวมถึงสัมภาษณ์นักจดหมายเหตุแห่งชาติและผู้เชี่ยวชาญด้านการบันทึก การศึกษาพบว่าการบันทึกอันเป็นรากฐานของการปฏิบัติงานจดหมายเหตุของไทยมีวิธีการบันทึกเหตุการณ์ผ่านสายตาของอาลักษณ์หรือนักจดหมายเหตุ สันนิษฐานว่าอาจได้รับอิทธิพลจากจีน ได้รับการสืบทอดและประยุกต์ใช้มาถึงปัจจุบันในสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ การบันทึกเป็นส่วนหนึ่งของการถ่ายทอดความรู้และความทรงจำในภาคประชาชนเรื่อยมาเช่นกัน การบันทึกกลับมีบทบาทมากขึ้นในสังคมร่วมสมัยเนื่องจากประชาชนสามารถบันทึกและมีส่วนร่วมในการจัดการจดหมายเหตุได้ นำไปสู่ข้อเสนอแนะในการสร้างความมีส่วนร่วมในการบันทึกให้กว้างขวางและหลากหลายยิ่งขึ้นโดยอาศัยการเชื่อมโยงทางเทคโนโลยี

 

References

ภาษาไทย

Ishii, Yoneo. 1985. Ko sangket bang prakan kiew kab phra rachapongsawadan ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับ "พระราชพงศาวดาร" [Some Issues about Royal Chronicles] (Kamchai Laisapasiri, Trans). In Komoon Prawattisat Thai samai Ayutthaya chak ekkasan Thai lae Tang prathet ข้อมูลประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยาจากเอกสารไทยและต่างประเทศ [Thai historical data from Thai and foreign documents], ed. Winai Pingsripian, 1-21. Nakhon Pathom: Department of History, Faculty of arts, Silpakorn University.

Naruemol Boontang นฤมล บุญแต่ง. 2020. Anuthin kap chotmaihet อนุทินกับจดหมายเหตุ [Diary and Archive]. https://www.orst.go.th/iwfm_list.asp?i=0040002204004002%2F63EHN0908088%24%400339, accessed June 2, 2021.

National Archives of Thailand. (n.d.). Visaitat panthakit yutthasat วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ [Vision, Mission, Strategies]. https://www.nat.go.th/เกี่ยวกับหน่วยงาน/วิสัยทัศน์-พันธกิจ-ยุทธศาสตร์, accessed May 10, 2021.

National Archives of Thailand. 1944. Lak patibat lae krongkan หลักปฏิบัติและโครงการ [Principle and Project]. [เอกสารจดหมายเหตุ]. โครงการของหจช. (ศธ. 0701 34/11). National Archives of Thailand, Bangkok.

Natwipha Chalitanon นาฏวิภา ชลิตานนท์. 1981. Prawatsat niphon Thai ประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทย [Thai Historiography]. Bangkok: The Foundation for the Promotion of Social Sciences and Humanities Textbooks Projects.

Nidhi Eoseewong นิธิ เอียวศรีวงศ์. 2000. Prawattisat Rattanakosin nai praratchapongsawadan Ayutthaya ประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ในพระราชพงศาวดารอยุธยา [Rattanakosin History in Ayutthaya Royal Chronicle] (2nd ed.). Bangkok: Matichon.

Phra rachabanyat chotmaihet hang chat por sor 2556 พระราชบัญญัติจดหมายเหตุแห่งชาติ พ.ศ. 2556 [Archives Act 2556 B.E.]. 2013. www.nat.go.th/กฎหมาย/รายละเอียด/ArticleId/2/-2556, accessed November 5, 2021.

Sanga Ramnarong สง่า รามณรงค์. 1970. Laem Wipayok แหลมวิปโยค [Cape of misery]. In Anuson nai ngan phrarachatan ploeng sob Phanake Phra Ramnarong (Sangiam Ramnarong) อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พันเอก พระรามณรงค์ (เสงี่ยม รามณรงค์) [Memorial in royal cremation ceremony of Lieutenant Phra Ramnarong (Sangiam Ramnarong)], 34-58. Phra Nakorn: Rongrueang Tham Printing House.

Songsan Nilkamhaeng ทรงสรรค์ นิลกำแหง. 1974. “Kanborihan ngan chotmaihet nai prathet Thai” การบริหารงานจดหมายเหตุในประเทศไทย [Archival Management in Thailand]. Master thesis, Chulalongkorn University.

Tanwa Wongsangiam ธันวา วงศ์เสงี่ยม. 2017. Mor Bradle kap kanplukfi nai Sayam หมอบรัดเล กับการปลูกฝีในสยาม [Dr. Bradley and a Vaccination in Siam]. Bangkok: Office of Literature and History, Fine Arts Department.

Wanida Tattle วนิดา ทัทเทิล. 2012. Prawattisat nipon lok thawan tok ประวัติศาสตร์นิพนธ์โลกตะวันตก [Historiography of Western World]. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Winai Pongsripian วินัย พงศ์ศรีเพียร (Ed.). 2016. Ming Sue Lu - Shing Sue Lu bantuek rueang ching haeng ratchawong Ming lae ratchawong Ching ton waduai Sayam หมิงสือลู่-ชิงสือลู่ บันทึกเรื่องจริงแห่งราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง ตอนว่าด้วยสยาม [Ming Sue Lu - Shing Sue Lu: Record of fact of Ming dynasty and Qing dynasty about Siam]. Nonthaburi: Princess Maha Chakri Sirindhorn Foundation.

ภาษาต่างประเทศ

Gilliland, A. J., McKemmish, S., & Lau, A. J. (Eds.). 2017. Research in the Archival Multiverse. Victoria: Monash University Publishing.

Jenkinson, Hilary. 1937. A Manual of Archive Administration. London: Percy Lund, Humphries & Co.

Lian, Zhiying. 2017. A History of Archival Idea and Practice in China. In Research in the Archival Multiverse, Anne J. Gilliland, Sue McKemmish, and Andrew J. Lau, eds., 96-121. Monash: Monash University.

Mark, Emily. 2016. Oracle Bones. https://www.worldhistory.org/Oracle_Bones/, accessed May 5, 2021.

Mckemmish, S., & Piggott, M. 2013. Toward the Archival Multiverse: Challenging the Binary Opposition of the Personal and Corporate Archive in Modern Archival Theory and Practice. Archivaria 76: 111–144. https://archivaria.ca/index.php/archivaria/article/view/13461

Millar, Laura A. 2019. A Matter of Facts: The Value of Evidence in an Information Age. Chicago: ALA Neal-Schuman.

Poolsatitiwat, Waraporn. 2017. “Identification of the Factors Shaping Archival Education in Thailand and an Investigation into the Effectiveness of that Education in Preparing Graduates for the Archival Workplace.” Doctoral dissertation, University of Liverpool.

Prudtikul, Somsuang. (n.d.). Records and Archives Management in Thailand. http://tla.tiac.or.th/ifla/Ifla99_20.htm, accessed December 5, 2013.

Ridener, John. 2009. From Polders to Postmodernism: A Concise History of Archival Theory. Duluth, MN: Litwin Books.

Schellenberg, T. R. 1956. Modern Archives: Principles and Techniques. Chicago: University of Chicago Press.

Society of American Archivists. (n.d.). Archives. In Dictionary of Archives Terminology. https://dictionary.archivists.org/entry/archives.html, accessed November 1, 2021.

Sucha-xaya, Naya. 2017. “The Unfit Puzzle: Archival Value and Society in Contemporary Thailand.” Doctoral dissertation, University College London.

Yeo, Geoffrey. 2018. Records, Information and Data: Exploring the Role of Record-Keeping in an Information Culture. London: Facet Publishing.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-29

How to Cite

สุจฉายา น. . (2021). การบันทึกเหตุการณ์:: รากฐานจดหมายเหตุของไทยและพัฒนาการสู่สังคมร่วมสมัย . วารสารอักษรศาสตร์, 50(2), 66–85. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jletters/article/view/252803

ฉบับ

บท

บทความวิจัย / บทความวิชาการ