กว่าจะถึงอุดมศึกษา: การศึกษาของสตรีไทยสมัยปฏิรูป

Authors

  • สุวดี ธนประสิทธิ์พัฒนา อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Abstract

บทความนี้มุ่งศึกษาปัจจัยที่ทำให้สตรีไทยได้เข้าเรียนในระดับอุดมศึกษาช้ากว่าบุรุษ โดยพิจารณาจากค่านิยมเกี่ยวกับบทบาทและการศึกษาของสตรีในสมัยจารีต ความคาดหวังของชนชั้นนำสยามต่อบทบาทของสตรีในสมัยปฏิรูปอันเป็นการผสมผสานของค่านิยมสมัยจารีตและค่านิยมของสังคมตะวันตก การจัดการอุดมศึกษาสำหรับบุรุษซึ่งนำมาสู่การเรียกร้องสิทธิของสตรีเพื่อเข้าสู่อุดมศึกษา รวมทั้งทัศนะของสังคมเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพของสตรีในช่วงเวลาดังกล่าว

 

กว่าจะถึงอุดมศึกษา: การศึกษาของสตรีไทยสมัยปฏิรูป

This paper aims to study the factors that resulted in higher education being made available to women after it had become available to men.  It takes into consideration the values inherent in the role and education assigned to women in the traditional period as well as expectations that the elite Siamese class had of women in the reform era, a period that saw the merging of traditional values and Western norms.  The paper also considers how males were granted access to university education leading to the demand for similar rights for their female counterparts.  In addition, it takes into account social attitudes regarding work opportunities for women during the said period.  

Downloads

How to Cite

ธนประสิทธิ์พัฒนา ส. (2016). กว่าจะถึงอุดมศึกษา: การศึกษาของสตรีไทยสมัยปฏิรูป. Journal of Letters, 39(1), 302–337. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jletters/article/view/53222