Yaoi Online: The Queer and Affective Practices of a Yaoi Manga Fan Community

Authors

  • Simon Turner Lecturer, BALAC Program, Faculty of Arts, Chulalongkorn University

Keywords:

yaoi, representation, male homosexual texts, fan diversity, ยะโออิ, การนำเสนอภาพแทน, ตัวบทเกี่ยวกับชายรักชาย, ความหลากหลายของกลุ่มผู้อ่าน

Abstract

This paper provides the theoretical background to my ongoing wider research. I have based its content on the following two core questions. The first question concern a general belief that yaoi is a woman’s genre. Key areas of this discussion concerns representation, what yaoi means to its fans, and whether there is any inherent meaning to be read from yaoi.  Based on the assumption   that the fan base is female (and heterosexual) there have been frequent attempts to understand why these women create and consume male homosexual texts. The second question acts as a response to the first. Further research is now required to understand the yaoi fandom as current literature neglects the diversity of both the fans themselves and their activities. The lack  of focus on fan diversity has led to a narrow understanding of the importance of yaoi in its fans’ lives.

 

ยะโออิออนไลน์: การปฏิบัติทางผัสสารมณ์เควียร์ ของกลุ่มผู้อ่านหนังสือการ์ตูนประเภทยะโออิ

ไซมอน เทอร์เนอร์

อาจารย์ ดร. ประจำหลักสูตรวัฒนธรรมศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งานวิจัยนี้นำเสนอภูมิหลังทางทฤษฎีในงานที่ผู้วิจัยกำลังดำเนินการศึกษาเนื้อหา งานวิจัยนี้มีพื้นฐานมาจากปัญหาสำคัญสองข้อ ข้อแรกว่าด้วยความเชื่อเหมารวมที่ว่า ยะโออิเป็นหนังสือการ์ตูนสำหรับกลุ่มผู้อ่านเพศหญิง ยะโออิคืออะไรสำหรับกลุ่มผู้อ่าน และยะโออิมีความหมายโดยนัยต่อผู้อ่านหรือไม่ ประเด็นเกี่ยวกับการนำเสนอภาพแทนนับเป็นหัวใจสำคัญในการอภิปรายคำถามนี้ จากสมมติฐานที่ว่ากลุ่มผู้อ่านยะโออิมักเป็นเพศหญิง (และไม่ได้เป็นกลุ่มรักร่วมเพศ) ผู้ศึกษายะโออิต่างพยายามทำความเข้าใจว่าเหตุใด ผู้อ่านเพศหญิงเหล่านี้จึงนิยมสร้างและเสพตัวบทที่นำเสนอเรื่องชายรักชายเป็นหลัก คำถามงานวิจัยข้อที่สองนี้ถือเป็นคำตอบสำหรับคำถามข้อแรก งานวิจัยเท่าที่มีอยู่ในปัจจุบันไม่เพียงพอต่อการทำความเข้าใจกลุ่มผู้อ่านยะโออิเนื่องจากงานวิจัยเหล่านั้นละเลยความหลากหลายของกลุ่มผู้คลั่งไคล้ยะโออิและกิจกรรมของพวกเขา การขาดความเข้าใจต่อความหลากหลายของกลุ่มผู้อ่านนี้เองนำไปสู่ความเข้าใจอันคับแคบต่อความสำคัญของยะโออิต่อชีวิตของกลุ่มผู้อ่าน

Downloads

How to Cite

Turner, S. (2016). Yaoi Online: The Queer and Affective Practices of a Yaoi Manga Fan Community. Journal of Letters, 44(2), 169–202. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jletters/article/view/48839