From Ayutthaya to Bangkok. A Comparison of Engelbert Kaempfer’s and Roger Willemsen’s Travelogues about Capital Cities in Siam/Thailand
Keywords:
travelogues, otherness, German authors, Siam and Thailand, บันทึกการเดินทาง, ความเป็นอื่น, นักเขียนชาวเยอรมัน, สยามและไทยAbstract
This paper contrasts two very different travel accounts concerning the former and current capital cities of today’s Thailand; written by German authors. On the one hand; it deals with Engelbert Kaempfer’s report about his travels to the then Siamese metropolis of Ayutthaya in 1690; on the other; it takes a closer look at Roger Willemsen’s city portrait of Bangkok in the early 21st century. It will be clear from the outset that these two approaches to the former and to the current Southeast Asian capital cities differ greatly from each other in almost every aspect. However; it remains to be seen whether there are still some connections; running through this temporal lag of more than three centuries; in the way that these two travelogues account for stays in the capitals of Siam and Thailand. We have identified two very different ways of dealing with travels to Southeast Asia in German literary history: the sensational; voyeuristic perspective on Bangkok’s nightlife by the contemporary author Roger Willemsen and the detached; scientific dealing with daily affairs in the Siamese capital Ayutthaya by Engelbert Kaempfer in the early modern period. Ultimately; these two accounts represent conventional options from which authors and readers alike can choose from in the future. By doing so; they will; in the end; continue the long history of European image-branding for Southeast Asian travel destinations: either by yet another exoticist “othering” or by the ever-ongoing attempt to grasp different societies on their own terms.
จากอยุธยาสู่กรุงเทพมหานคร การเปรียบเทียบบันทึกการเดินทางของเอ็งเงลแบร์ท เค็มพ์เฟอร์ และโรเจอร์ วิลเล็มเซนเกี่ยวกับเมืองหลวงของประเทศสยาม และประเทศไทย
โยฮันเนส เกอแบร์ท
นักวิชาการสาขาวรรณคดีในโครงการไอน์สไตน์ หัวข้อ “Transpacifica” ของ Friedrich Schlegel Graduiertenschule für literaturwissenschaftliche Studien, Freie Universität Berlin
บทความนี้มุ่งเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างบันทึกการเดินทางโดยนักเขียนชาวเยอรมันสองคน บันทึกการเดินทางซึ่งแตกต่างกันอย่างมากทั้งสองชิ้นนี้บอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับอดีตเมืองหลวงและเมืองหลวงในปัจจุบันของประเทศไทย ผู้วิจัยศึกษาบันทึกการเดินทางของเอ็งเงลแบร์ท เค็มพ์เฟอร์ในปีค.ศ.1690 เมื่อผู้เขียนเดินทางมายังอยุธยาอันเป็นเมืองหลวงแห่งประเทศสยามในขณะนั้น ควบคู่ไปกับการศึกษา การนำเสนอภาพกรุงเทพมหานครในช่วงต้นศตวรรษที่ 21 โดยโรเจอร์ วิลเล็มเซน เป็นที่แน่ชัดว่ามุมมองที่นักเขียนทั้งสองมีต่อเมืองหลวงของประเทศไทยทั้งในอดีตและปัจจุบันแตกต่างกันในทุกๆด้าน อย่างไรก็ตาม การบรรยายประสบการณ์การพำนักอยู่ ณ เมืองหลวงทั้งสองอาจมีความเชื่อมโยงซึ่งข้ามผ่านระยะเวลาสามศตวรรษอยู่เช่นกัน ผู้วิจัยได้จำแนกวิธีการบอกเล่าประสบการณ์การเดินทางมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในประวัติศาสตร์วรรณคดีเยอรมันไว้สองประเภท ได้แก่ การนำเสนอชีวิตกลางคืนของกรุงเทพมหานครผ่านมุมมองแบบถ้ำมองอันเปี่ยมอารมณ์ของโรเจอร์ วิลเล็มเซน และ การบรรยายกิจวัตรประจำวันในช่วงต้นสมัยใหม่ผ่านมุมมองถอยห่างแบบวิทยาศาสตร์โดยเอ็งเงลแบร์ท เค็มพ์เฟอร์ ท้ายที่สุดแล้ว บันทึกทั้งสองแสดงทางเลือกแบบขนบที่ ทั้งผู้เขียนและผู้อ่านสามารถเลือกได้ในอนาคต ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการเล่าเรื่องโดยการสร้างความเป็นอื่นให้แก่วัฒนธรรมพื้นเมือง หรือการเล่าเรื่องที่พยายามแสดงภาพสังคมอันแตกต่างอย่างเหมือนจริงอันเป็นขนบการเล่าเรื่องที่มีมาเป็นเวลาช้านาน ทั้งผู้เขียนและผู้อ่านต่างมีส่วนสานต่อประวัติศาสตร์อันยาวนานแห่งการสร้างภาพลักษณ์ผ่านสายตาชาวยุโรปให้แก่จุดหมายปลายทางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งสิ้น
Downloads
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright and plagiarism
Authors are responsible for obtaining permission to use copyrighted materials from copyright owners. Authors are responsible for observing requisite copyright law when quoting or reproducing copyrighted materials. Quotations and reproductions of content from other published sources must be accompanied by a reference and all sources should be clearly listed in the references section. Quotations and reproductions of content from external sources without due attribution could be considered a severe infringement of academic conduct and may constitute a legal offence under the Copyright Act of B.E. 2537. Any legal ramifications arising from the infringement of copyright regulations would be the sole responsibility of the author(s).