การศึกษาเปรียบเทียบนวสตรีในนวนิยายไทยเรื่อง ปริศนา ของ ว. ณ ประมวญมารค กับนวสตรีในนวนิยายอังกฤษยุคปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19

ผู้แต่ง

  • ฐาปนัจฉร์ ขุนภักดี ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

นวสตรี, ปริศนา, ว. ณ ประมวญมารค, นวนิยายอังกฤษ, ซาราห์ แกรนด์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เพื่อเปรียบเทียบลักษณะตัวละครนวสตรีกับตัวละครหญิงตามขนบ และเปรียบเทียบนวสตรีในเรื่อง ปริศนา ของ ว. ณ ประมวญมารคกับนวสตรีในนวนิยายอังกฤษเรื่อง The Heavenly Twins และ The Beth Book ของ Sarah Grand ในบริบทด้านการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผลปรากฏว่าตัวละครปริศนาแตกต่างกับสตรีตามขนบอย่างชัดเจน ด้วยความฉลาดและการศึกษาในต่างประเทศทำให้ปริศนาเชื่อมั่นในตนเองรวมทั้งมีความสามารถพิเศษหลายด้าน ลักษณะเหล่านี้เข้ากับตัวละครนวสตรีอังกฤษ จากการเปรียบเทียบพบว่าตัวละครปริศนา อีวาดนี แองเจลิกา และเบ็ธมีลักษณะเหมือนกันคือฉลาด มีความสามารถพิเศษไม่ว่าจะได้รับการศึกษาในระบบหรือไม่ก็ตาม ตั้งใจพัฒนาตนเองและต้องการปกครองตนเองเนื่องจากมีความสามารถเท่าเทียมผู้ชายในสังคม ประกอบอาชีพเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ รวมถึงประพฤติตนอยู่ในกรอบวัฒนธรรมอันดี สิ่งที่แตกต่างกันคือปริศนาให้ความสำคัญต่อการสมรสกับบุคคลที่เหมาะสม โดยนวนิยายจบด้วยการที่ปริศนาได้แต่งงานกับชายที่ดีพร้อม ขณะที่นวนิยายอังกฤษนำเสนอทั้งด้านบวกและลบของชีวิตสมรสของนวสตรี

References

ภาษาไทย / Thai

Anusorn ngan prarajatanplerng prasop phra chao worawong ther phra ong chao vibhavadi rangsit na men Wat Phra Sri Maha Tat Bang Khen wan paruhatsabodi thi 7 mesayon 2520 khana ratamontri chad pim puea tawai phrakiat lae sadudi werakam อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต ม.จ.ก. ป.ช. ท.จ.ว. ณ เมรุวัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน วันพฤหัสบดี ที่ 7 เมษายน 2520 คณะรัฐมนตรีจัดพิมพ์เพื่อถวายพระเกียรติและสดุดีวีรกรรม [Book for the Cremation of Her Royal Highness Princess Vibhavadi Rangsit, 7 April 2520 B.E.]. 1977. Bangkok: Cabinet and Royal Gazette Publishing Office.

Apiwan Adulyapichet อภิวันทน์ อดุลยพิเชฎฐ์. 2001. “Satanapab lae botbath khong pu-ying lae pu-chai Thai nai adit: Pab sathon chak wannakam rueang Khun Chang Khun Phaen” สถานภาพและบทบาทของผู้หญิงและผู้ชายไทยในอดีต: ภาพสะท้อนจากวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน [Status and Role of Siamese Women and Men in the Past: A Case Study from Khun Chang Khun Phan]. Master thesis, Silpakorn University.

Arthitaya Charuchinda อาทิตยา จารุจินดา. 2012. “Karn sangpab kwam pen ying nai nawaniyai Thai samai Chompon Por. Phibunsongkhram” การสร้างภาพความเป็นหญิงในนวนิยายไทย สมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม [The Construction of the Femininity in Thai Novels during Field Marshal P. Phibulsongkram’s Regime]. Doctoral thesis, Srinakharinwirot University.

Boonwadee Montrikul Na Ayudhaya บุญวดี มนตรีกุล ณ อยุธยา. 2016. Botbath satri nai mummong kwamyutitham nai sangkom Thai บทบาทสตรีในมุมมองความยุติธรรมในสังคมไทย [Women’s role in the Perspective of Justice in the Thai society]. Warasarn Karn Borihan Pokkrong วารสารการบริหารปกครอง [Governance Journal] 5(2): 23-37.

Chakrit Choomwattana ชาคริต ชุ่มวัฒนะ. 1988. Pu-ying khong pu-chai samai Victorian ผู้หญิงของผู้ชายสมัยวิคตอเรียน [Women of the Victorian Men]. Warasarn Aksorasat วารสารอักษรศาสตร์ [Journal of Letters] 20(2): 1-11.

Kanchana Witchayapakorn กาญจนา วิชญาปกรณ์. 2011. Miti ying chai nai wannakam sorn satri มิติหญิงชายในวรรณกรรมสอนสตรี [The Gender on the Female Didactic Literary Works]. Warasarn Manusayasat Mahawittayalai Naresuan วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร [Journal of Humanities, Naresuan University] 8(2): 1- 20.

Kanitha Tinnawat ขนิษฐา ทินวัฒน์. 2006. “Pabsathon khong sangkom dan karn sueksa lae wattanatham nai nawaniyai khong Dokmaisod” ภาพสะท้อนของสังคมด้านการศึกษาและวัฒนธรรมในนวนิยายของดอกไม้สด [The Reflection of the Society Concerning Education and Culture in Dokmaisod’s Novels]. Master thesis, Srinakharinwirot University.

Kanpirom Suwunnanonda กรรภิรมย์ สุวรรณานนท์. 1981. “Phrabat Somdet Phra Mongkut Klao Chao Yuhua kab karn sang chat Thai” พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการสร้างชาติไทย [King Vajiravudh and His Nationbuilding Programmes]. Master thesis, Chulalongkorn University.

Manot Moonsap มาโนชญ์ มูลทรัพย์. 2012. “Karn plianplaeng dan karn sueksa khong satri Thai nai ratchasamai Phrabat Somdet Phra Chulachom Klao Chao Yu Hua (por sor 2411-2453)” การเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษาของสตรีไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2411-2453) [A Change in Education of Thai Women in the Reign of King Rama V (2411-2453 B.E.)]. Master thesis, Srinakharinwirot University.

Ministry of Interior Affairs กระทรวงมหาดไทย. 1972. Rai-ngan karn lueaktang samashik sapha putaen ratsadon lem 2 รายงานการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเล่ม 2 [The Research on the General Election, Volume 2]. Bangkok: Ministry of Interior. (Original work published 1967).

Ornjira Atchariyaphaiboon อรจิรา อัจฉริยไพบูลย์. 2017. Botkwam paritat “satriniyom”: Karn sueksa withiwittaya pan ngan wittayanipon ruam samai khong Thai บทความปริทรรศน์ “สตรีนิยม”: การศึกษาวิธีวิทยาผ่านงานวิทยานิพนธ์ร่วมสมัยของไทย [Reviewing “Feminism”: A Study of Methodology in Thai Contemporary Theses]. Warasarn Manusayasat Mahawittayalai Naresuan วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร [Journal of Humanities, Naresuan University] 14(3): 137-148.

Pavinee Bunnag ภาวิณี บุนนาค. 2011. “Pu-ying nai krabuankarn yutitham nai sangkom Thai nai ratchasamai Phrabat Somdet Phra Chulachom Klao Chao Yu Hua chon tueng por sor 2478: Sueksa chak kadikwam lae dika” ผู้หญิงในกระบวนการยุติธรรมในสังคมไทย รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จนถึง พ.ศ. 2478: ศึกษาจากคดีความและฎีกา [Women in Thai Jurisdiction from the Reign of King Chulalongkorn to 2478 B.E.: Through the Study of Lawsuits and Petitions]. Master thesis, Thammasat University.

Pechsupa Tasanapan เพชรสุภา ทัศนพันธ์. 1999. “Naewkwamkid rueang “karn khao samakom” lae ponkratob tor satri Thai por sor 2461-2475” แนวความคิดเรื่อง “การเข้าสมาคม” และผลกระทบต่อสตรีไทย พ.ศ. 2461-2475 [The Idea of Socializing and Its Impact on Thai Women, 2461-2475 B.E.]. Master thesis, Chulalongkorn University.

Phuangpet Suratanakavikul พวงเพชร สุรัตนกวีกุล. 1982. Satri Thai nai dan sangkom สตรีไทยในด้านสังคม [Thai Women in Social Aspects]. Warasarn Wittayasarnkasetsart Sakha Sangkomsart วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ [Kasetsart Journal: Social Sciences] 3(1-2): 1-14.

Pornsan Watanangura พรสรรค์ วัฒนางกูร. 2008. Phrabat Somdet Phra Chulachomklao Chao Yu Hua nai Yurob botkwam riabriang chak pon-ngan wijai Pornsan Watanangura, kwamsumpun rawang ratcha-anachak Siam lae ratchasumnak Yurob nai ekkasarn karnsadet prapat yurob krung raek khong Phrabat Somdet Phra Chulachomklao Chao Yu Hua por sor 2440 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในยุโรป บทความเรียบเรียงจากผลงานวิจัย พรสรรค์ วัฒนางกูร, ความสัมพันธ์ระหว่างราชอาณาจักรสยามและราชสำนักยุโรปในเอกสารการเสด็จประพาสยุโรปครั้งแรกของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2440 [King Rama V in Europe, an Article Adapted from Research Work by Pornsan Watanangura, “The Relations between the Kingdom of Siam and the European Courts in the Documents of His Majesty’s First Grand Tour, 2440 B.E.”]. http://www.cca.chula.ac.th/lecture_series/images/stories/pdf/king-chulalongkorn-rachanusorn9.pdf

Ratchaneekorn Settho รัชนีกร เศรษโฐ. 1989. Khrongsang sangkom lae wattanatham Thai โครงสร้างสังคมและวัฒนธรรมไทย [Social Structure and Thai Culture]. Bangkok: Thai Watana Panich.

Ruenruthai Sujjapun รื่นฤทัย สัจจพันธ์. 1994. Wannakam patchuban วรรณกรรมปัจจุบัน [Contemporary Literature] (7th ed.). Bangkok: Ramkhamhaeng University Press.

Smith Thanomsasana สมิทธ์ ถนอมศาสนะ. 2015. “Karn plianplaeng tang kwamkid khong chon chan klang Thai kub “rueang aan len” Thai samai mai totsawat 2460 - 2480” การเปลี่ยนแปลงทางความคิดของชนชั้นกลางไทยกับ “เรื่องอ่านเล่น” ไทยสมัยใหม่ ทศวรรษ 2460 - 2480 [The Changing Perspective of the Thai Middle Class and Modern Thai Fiction, Late 1910s – Late 1940s]. Doctoral thesis, Chulalongkorn University.

Supannee Varatorn สุพรรณี วราทร. 1976. Prawat karnprapan nawaniyai Thai tangtae samai roemrak chontueng por sor 2475 ประวัติการประพันธ์นวนิยายไทย ตั้งแต่สมัยเริ่มแรกจนถึง พ.ศ. ๒๔๗๕ [History of the Composition of Thai Novel from the Beginning to 2475 B.E.]. Bangkok: Charoenwit Karnpim.

Suwadee Tanaprasitpattana สุวดี ธนประสิทธิ์พัฒนา. 1984. Karn sueksa khong satri Thai por sor 2411-2475 การศึกษาของสตรีไทย พ.ศ. 2411-2475 [Thai Women’s Education 2411-2475 B.E.]. In Karn Prachum Sammana rawang Puwijai lae Puchai Pon-ngan wijai Rueang Kwam Suebnueang lae Karn Plianplaeng nai Sangkom Thai 2411-2519 Wan Angkarn thi 21 Singhakom 2527 na Hong Prachum Saranitet Chulalongkorn Mahawittayalai การประชุมสัมมนาระหว่างผู้วิจัยและผู้ใช้ผลงานวิจัยเรื่องความสืบเนื่องและการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย 2411-2519 วันอังคารที่ 21 สิงหาคม 2527 ณ ห้องประชุมสารนิเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [Proceedings of the Seminar of Researchers and Users of the Research Work “Continuity and Change in the Thai Society 2411-2519 B.E.” Tuesday 21st August 1984, the Saranitet Conference Room]. Bangkok: Chulalongkorn University.

Suwadee Tanaprasitpattana สุวดี ธนประสิทธิ์พัฒนา. 1991. Satannapab thang sangkom khong satri Thai samai patirup pratet สถานภาพทางสังคมของสตรีไทยสมัยปฏิรูปประเทศ [Thai Women’s Social Status during the Period of Modernisation]. Warasarn Aksorasat วารสารอักษรศาสตร์ [Journal of Letters] 23: 3-19.

Tapanat Khunpakdee ฐาปนัจฉร์ ขุนภักดี. 2017. “Nawasatri”: Wannakam “pu-ying yuk mai” plai samai krissatawat thi sibgao “นวสตรี”: วรรณกรรม “ผู้หญิงยุคใหม่” ปลายสมัยคริสต์ศตวรรษที่สิบเก้า [“New Woman”: Literature of the “Modern Woman” at the End of the Nineteenth Century]. In Lak Rot Lai Lila nai Wannakam Phasa Angkrit หลากรสหลายลีลาในวรรณกรรมภาษาอังกฤษ [Various Flavours and Different Styles in Literary Works Written in English], ed. Wirote Arunmanakul, 37-72. Bangkok: Faculty of Arts, Chulalongkorn University.

The Royal Institute ราชบัณฑิตยสถาน. 2013. Potchananukrom Chabub Ratchapundittayasatan por sor 2554 พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [The Royal Institute dictionary, 2554 B.E.]. Bangkok: Nanmeebooks Publication.

Trisilpa Boonkhachorn ตรีศิลป์ บุญขจร. 1978. “Pattanakarn nawaniyai Thai por sor 2475-2500: Karn sueksa kwamsumpun rawang nawaniyai gub sangkom” พัฒนาการนวนิยายไทย พ.ศ. 2475-2500: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างนวนิยายกับสังคม [The Development of the Thai Novels, 2475-2500 B.E.: A Study of the Relationship between Novels and Society]. Master thesis, Chulalongkorn University.

Trisilpa Boonkhachorn ตรีศิลป์ บุญขจร. 1999. Nawaniyai kab Sangkom Thai 2475-2500 นวนิยายกับสังคมไทย 2475 - 2500 [The Novel and the Thai society 2475-2500 B.E.]. Bangkok: Faculty of Arts, Chulalongkorn University.

Unjai Patimaprakorn อุ่นใจ ปฏิมาประกร. 2006. “Botbath khong missionary American nai karn chad karn sueksa satri Thai: Korani sueksa rongrian wattana wittayalai rawang por sor 2417-2500” บทบาทของมิชชันนารีอเมริกันในการจัดการศึกษาสตรีไทย: กรณีศึกษาโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ระหว่าง พ.ศ. 2417-2500 [The Roles of American Missionaries in Educational Management for Thai Women: A Case Study of Wattana Wittaya Academy from 2417-2500 B.E.]. Master thesis, Srinakharinwirot University.

V. Na Pramuanmarg ว. ณ ประมวญมารค. 2011. Prissana ปริศนา [Prissana]. Bangkok: Saengdao.

Varavadi Wongsangah วรวดี วงศ์สง่า. 1992. “Karn sueksa tatsana thi sanabsanun sitti satri khong nakkhian satawat thi 19 nai nawaniyai shin samkan khong angkrit” การศึกษาทัศนะที่สนับสนุนสิทธิสตรีของนักเขียนศตวรรษที่ 19 ในนวนิยายชิ้นสำคัญของอังกฤษ [A Study of 19th Century Writers Attitudes towards Feminism in Selected British Novels]. Master thesis, Srinakharinwirot University.

Wasana Boonsom วาสนา บุญสม. 1992. “Botbath pu-ying nai nawaniyai lae rueangsan khong Luang Vichit-Vadakan: Karn sueksa shoeng wikroh” บทบาทผู้หญิงในนวนิยายและเรื่องสั้นของหลวงวิจิตรวาทการ: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ [Women’s Role in Luang Vichit-Vadakan’s Novels and Short Stories: An Analytical Study]. Master thesis, Chulalongkorn University.

Watinee Sirichai วาทินี ศิริชัย. 2014. Karn sang tualakorn tornueang khong nakkhian Thai การสร้างตัวละครต่อเนื่องของนักเขียนไทย [The Construction of Serial Characters in Novels of Thai Authors]. Warasarn Silapasat Mahawittayalai Maejo วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ [Journal of Liberal Arts, Maejo University], 2(1): 25-41.

ภาษาอังกฤษ / English

Davidoff, L., & Hall, C. 1991. Family Fortunes: Men and Women of the English Middle Class, 1780-1850. Chicago: The University of Chicago Press.

Forward, Stephanie. 1999. Attitudes to Marriage and Prostitution in the Writings of Olive Schreiner, Mona Caird, Sarah Grand and George Egerton. Women’s History Review 8(1): 53-80.

Foster, Shirley. 1985. Victorian Women’s Fiction: Marriage, Freedom and the Individual. London: Billing & Sons Limited.

Gilbert, Sandra., & Gubar, Susan. 1985. The Norton Anthology of Literature by Women: The Traditions in English. New York: W. W. Norton & Company.

Goodman, J., & Harrop, S. (Eds.). 2000. Women, Educational Policy-Making and Administration in England: Authoritative Women since 1880. London: Routledge.

Harrison, Brian. 1990. “Kindness and Reason”: William Lovett and Education. In Victorian Values: Personalities and Perspectives in Nineteenth-Century Society, ed. Gordon Marsden, 13-28. London: Longman.

Khunpakdee, Tapanat. 2013. “Individualism, the New Woman, and Marriage in the Novels of Mary Ward, Sarah Grand, and Lucas Malet.” Doctoral thesis, Royal Holloway, University of London, Surrey.

Kolnai, Aurel T. 2005. Sexual Ethics: The Meaning and Foundations of Sexual Morality (F. Dunlop, trans.). Aldershot: Ashgate.

Light, Alison. 1990. “Modernity and the Conservative Imagination: Fiction and Femininity between the Wars.” Doctoral thesis, University of Sussex, Brighton.

Light, Alison. 1991. Forever England: Femininity, Literature and Conservatism between the Wars. London: Routledge.

Mahajan, P., & Randhawa, J. 2016. Emergence of “New Woman”: A Study of Origin of the Phrase in the West from Historical Perspective. IOSR Journal of Humanities and Social Science (IOSR-JHSS) 21(3): 1-4.

Mangum, Teresa. 2001. Married, Middlebrow, and Militant: Sarah Grand and the New Woman Novel. Ann Arbor: University of Michigan Press.

Mitchell, Sally. (Ed.). 2011. Victorian Britain: An Encyclopedia. Abingdon: Routledge.

Shanley, Mary L. 1993. Feminism, Marriage, and the Law in Victorian England. Princeton: Princeton University Press.

Williams, Merryn. 1984. Women in the English Novel 1800-1900. Hong Kong: Macmillan.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-28

How to Cite

ขุนภักดี ฐ. . (2020). การศึกษาเปรียบเทียบนวสตรีในนวนิยายไทยเรื่อง ปริศนา ของ ว. ณ ประมวญมารค กับนวสตรีในนวนิยายอังกฤษยุคปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19. วารสารอักษรศาสตร์, 49(1), 1–33. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jletters/article/view/225922

ฉบับ

บท

บทความวิจัย / บทความวิชาการ